กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายบุญจองทองอิ้ว

ชื่อโครงการ โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5221-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,005.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตเปรียบเสมือนเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ ในทุกเพศ ทุกวัย จากสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่ากำลังเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์” ในอีก 8 ปีข้างหน้า หรือปี 2564 ที่จะมีถึง 1 ใน 5 จากที่ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) มาแล้วโดยมีสัดส่วนคนอายุ 60 ปีขึ้นไปถึง 10% เมื่อปี 2543 (ตามนิยามองค์การสหประชาชาติ) และคาดจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) คือมากถึง 30 % ในอีก 20 ปี หรือปี 2578นอกจากนี้ในอนาคตการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุ นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพเมื่อพิจารณาสัดส่วนเพศของประชากรสูงอายุ พบว่า ประชากรสูงอายุเพศหญิงมีสัดส่วนร้อยละ 55.1 ในปี 2553 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 56.8 ในปี 2583 โดยเฉพาะประชากรสูงอายุวัยปลายเพศหญิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จากร้อยละ 13.9 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 21.3ในปี 2583 เนื่องจากเพศหญิงจะมีอายุยืนยาวกว่าเพศชายสำหรับแนวโน้มประชากรสูงอายุไทยจะอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลหรือเขตเมืองเพิ่มขึ้นโดยในปี 2553 มีประชากรสูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลจำนวน 3.3 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 39.7 เพิ่มขึ้นเป็น11.6 ล้านคน หรือร้อยละ 59.8 ในปี 2583 ทั้งนี้ เนื่องมาจากแนวโน้มการเติบโตของประชากรเมืองในประเทศไทยมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นจำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของจังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลาพบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานในปี 2559 เท่ากับ 162,474 ราย และในปี 2560 เท่ากับ167,796 รายเพิ่มขึ้น5,322 ราย และจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงปี 2559 เท่ากับ 90,908 ราย และในปี 2560 เท่ากับ 96,179 ราย เพิ่มขึ้น 5,268 รายและจากการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ ด้านอาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ในกลุ่มเสี่ยง พบว่ามีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องค่อนข้างสูง ในเรื่องรับประทานผักน้อยกว่าครึ่งกิโลกรัม และรับประทานผักไม่หลากหลายชนิดใน 1 วันและยังพบว่าสถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนในปี พ.ศ. ๒๕58 – ๒๕60มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 4๙๖ , 620 , 914คนตามลำดับซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุจำนวน2๘๗ , ๓04 , 850 คนตามลำดับเฉลี่ยร้อยละ๙2.99 ของผู้ป่วยทั้งหมด
จากสถานการณ์ข้างต้นจะเห็นได้ว่าจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้นแต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิตดังนั้นเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจทางชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าบอนได้จัดทำ โครงการชมรมเข้มแข็งผู้สูงอายุสุขภาพดีเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและส่งรักษาต่อในกรณีพบปัญหาสุขภาพ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพตามแบบประเมินสุขภาพพึงประสงค์สามารถช่วยเหลือตนเองและเพื่อนบ้านได้พร้อมทั้งเพื่อเชิดชูบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพพึงประสงค์
  2. 2. เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
  2. ติดตามการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ
  3. จัดอบรมผู้สูงอายุตำบลท่าบอน
  4. จัดทำป้ายผู้สูงอายุและผังโครงสร้างชมรมผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและส่งรักษาต่อกรณีพบปัญหาสุขภาพ ๒.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองที่วิธี ๓.มีชมรมผู้สูงอายุที่แข็งแรงและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพพึงประสงค์
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพพึงประสงค์ร้อยละ 80
0.00 99.08

 

2 2. เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ10
0.00 6.57

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพพึงประสงค์ (2) 2. เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง (2) ติดตามการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ (3) จัดอบรมผู้สูงอายุตำบลท่าบอน  (4) จัดทำป้ายผู้สูงอายุและผังโครงสร้างชมรมผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชมรมเข้มแข็ง ผู้สูงอายุสุขภาพดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบุญจองทองอิ้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด