กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ


“ โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง ”

ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง

ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-3-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50115-3-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มีการพัฒนาทั้ง ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ และ การอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข สุขภาพและความปลอดภัย เมื่อนำมาพิจารณารวมกันแล้ว ย่อม หมายถึง “ทั้งชีวิตของเด็ก” ดังนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นกับสุขภาพ และ ความปลอดภัย ย่อมเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว นอกจากนี้ ยังมีผล ต่อพัฒนาการของเด็กในทุกๆด้านอีกด้วย ดังนั้น การช่วยเหลือ ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาสุขภาพ และ ความปลอดภัยในเด็กย่อมมีความสำคัญต่อชีวิต และ อนาคตของเด็ก อย่างไรก็ตาม แม้ว่าทุกครอบครัวประสงค์ให้เด็กทุกคนได้กินดีอยู่ดี มีที่อยู่ ที่หลับนอนที่ปลอดภัยและสะอาดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กถือเป็นสถานที่หนึ่งที่สามรถเป็นสถานที่แพร่เชื้อโรคแหล่งสำคัญแหล่งหนึ่งสำหรับเด็ก ทั้งนี้เพราะเด็กมาจากหลากหลายครอบครัว ซึ่งต่างคนอาจมีปัญหาสุขภาพที่ต่างกันไป แต่ก็สามารถแพร่กระจายเชื้อโรคสู่กันและกันได้นอกจากนี้เด็กยังจำเป็นต้องทำกิจกรรมที่ต้องปฏิสัมพันธ์กันโดยใกล้ชิดซึ่งการแพร่เชื้อโรคก็พร้อมจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสำคัญในการป้องกัน ช่วยเหลือ หรือแก้ไขปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในเด็กปฐมวัยเป็นอย่างยิ่ง และเพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กที่โรงเรียนมีความเสี่ยงน้อยที่สุด ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพขึ้นมาภายใต้โครงการใส่ใจสุขภาพน้องหนูปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลต้นไทรขึ้นมาโครงการนี้มุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพนักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของครูผู้ดูแลเด็กบุคลากร รวมทั้งผู้ปกครอง และ ชุมชน เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ๒. เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้ ๓. เด็กปฐมไดมีความรู้และทักษะในการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 26 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 1.2 ชี้แจงประธานและคณะกรรมศูนย์ฯ ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องถึงนโยบายการดำเนินงาน 1.3 ดำเนินการจัดงานโครงการ 1.3.1 เสนอชี้แจงนโยบายของโครงการ 1.3.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 1.3.3 ประสานถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดกิจกรรมโครงการ ดังนี้ -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ เพื่อขอความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ให้ความรู้และคำแนะนำ ในกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ดังนี้ 1.4 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรม 1.5 สรุป – ประเมินผล – รายงานผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ๒. เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้ ๓. เด็กปฐมไดมีความรู้และทักษะในการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย

 

66 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ครู และ ผู้ปกครองได้มีบทบาทสำคัญในการป้องกันช่วยเหลือแก้ไขปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในเด็กปฐมวัย เกิดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยมีความเสี่ยงน้อยที่สุด การพัฒนาด้านสุขภาพปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ มีการใส่ใจสุขภาพของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การพัฒนาสุขภาพและป้องกันร่างกายเด็กปฐมวัย ทุกส่วนมีส่วนร่วม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพของเด็กปฐมวัย ในชุมชนต่อไป เพื่อให้การพัฒนาให้ครบทั้ง 4 ด้าน ต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : พัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข
50.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีตามเกณฑ์ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียนปฐมวัย และ ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และ มีทักษะในการป้องกันเหตุต่างๆที่อาจเกิดกับเด็กปฐมวัยได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการน้องหนูปลอดภัยห่างไกลโรค ศพด.บ้านบาโงสนิง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-3-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด