กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ


“ โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง ”

ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง

ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-3-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50115-3-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การ มีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทำหน้าที่ได้เหมาะสม และทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตดีไปด้วย ความผูกพัน : ตัวแปรความอบอุ่นในครอบครัว ครอบครัวจะมีแรงผลักดันอยู่ ๒ แรงที่ต่อสู้กันอยู่เสมอคือ แรงที่ดึงสมาชิกให้เข้าหากัน เป็นอันหนึ่งอันเดียว กัน ทั้งความคิด ความรู้สึก การกระทำ และแรงผลักดันที่ทำให้สมาชิกอยู่ห่างออกจากกัน เพื่อใช้ชีวิตอย่างอิสระและเป็นตัวของตัวเองแรงผลักดันทั้ง ๒ จะสมดุลกันในครอบครัวที่อบอุ่น แม้บางครั้งแรงผลักดันแบบหนึ่งอาจมากกว่าอีกแบบหนึ่ง แต่ก็จะเป็นอยู่ชั่วคราว และจะกลับคืนสู่สภาวะสมดุลในที่สุด หากต้องการมีครอบครัวที่อบอุ่น สมาชิกแต่ละคนในครอบครัวจะต้องมีบทบาทความเป็นผู้นำในวาระที่แตกต่างกันออกไป เช่น แม่จะเป็นผู้นำและเป็น ผู้ตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลครอบครัวและการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น เรื่องอาหารการกินในบ้าน ส่วนพ่อจะเป็นผู้นำในเรื่องที่สำคัญ เช่น เรื่องภายนอกบ้าน และสมาชิก ในบ้านควรมีส่วนในการสนับสนุนความคิดของผู้นำในครอบครัว (บทความเรื่อง สร้างครอบครัวอบอุ่น ของมูลนิธิหมอชาวบ้าน) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสมาขิกในครอบครัวโดยเฉพาะ เด็กปฐมวัย จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างสุขภาพจิตดี เพราะครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานของสังคมการมีพ่อแม่เป็นแบบอย่างที่ดีเป็นครูคนแรกที่สอนสิ่งดีๆให้กับลูกๆ สิ่งเหลานี้แหละจะเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตที่ดีและความสำเร็จของคนๆหนึ่ง และแน่นอนที่สุดว่า ครอบครัวจะเป็นจุดเริ่มต้นของสิ่งดีๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครอบครัวรู้จักกับบทบาทหน้าที่ของกันและกันอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ภาพที่ดี ระหว่างสมาชิกในครอบครัวให้อบอุ่น
  3. เพื่อสร้างความรักความเข้าใจแก่สมาชิกในครอบครัวรู้จักใช้เวลา ร่วมกันอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ครอบครัวรู้จักหน้าที่ซึ่งกันและกัน
๒. เกิดความสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ทำให้ครอบครัวอบอุ่น ๓. รู้จักใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
๔.ครอบครัวรู้จักวิธีการสื่อสารกันภายในครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 1.2 ชี้แจงประธานและคณะกรรมศูนย์ฯ ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องถึงนโยบายการดำเนินงาน 1.3 ดำเนินการจัดงานโครงการ 1.3.1 เสนอชี้แจงนโยบายของโครงการ 1.3.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 1.3.3 ประสานถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดกิจกรรมโครงการ ดังนี้ -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ เพื่อขอความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ให้ความรู้และคำแนะนำ ในกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ดังนี้ 1.4 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรม 1.5 สรุป – ประเมินผล – รายงานผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ครอบครัวรู้จักหน้าที่ซึ่งกันและกัน
๒. เกิดความสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ทำให้ครอบครัวอบอุ่น ๓. รู้จักใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
๔.  ครอบครัวรู้จักวิธีการสื่อสารกันภายในครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ

 

66 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครองเด็กนักเรียนและ ครูทุกคน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง ได้ดีมากขึ้น ทำให้สมาชิกในครอบครัวมีความรัก ความสามัคคีกัน รู้จักหน้าที่ซึ่งกันและกัน ทุกคนในครอบครัวเกิดความสัมพันธภาพที่ดี มีความเข้าใจกัน ทำให้ครอบครัวมีความอบอุ่นมากขึ้น ทุกคนในครอบครัวรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ร่วมกันอย่างมีคุณภาพและรู้จักวิธีการสื่อสารกับทุกคนในครอบครัวและคนรอบข้างอย่างมีอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครอบครัวรู้จักกับบทบาทหน้าที่ของกันและกันอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ครอบครัวรู้จักกับบทบาทหน้าที่ของกันและกันอย่างถูกต้อง
50.00

 

2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ภาพที่ดี ระหว่างสมาชิกในครอบครัวให้อบอุ่น
ตัวชี้วัด : สร้างความสัมพันธ์ภาพที่ดี ระหว่างสมาชิกในครอบครัวให้อบอุ่น
50.00

 

3 เพื่อสร้างความรักความเข้าใจแก่สมาชิกในครอบครัวรู้จักใช้เวลา ร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : สร้างความรักความเข้าใจแก่สมาชิกในครอบครัวรู้จักใช้เวลา ร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครอบครัวรู้จักกับบทบาทหน้าที่ของกันและกันอย่างถูกต้อง  (2) เพื่อสร้างความสัมพันธ์ภาพที่ดี ระหว่างสมาชิกในครอบครัวให้อบอุ่น  (3) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจแก่สมาชิกในครอบครัวรู้จักใช้เวลา ร่วมกันอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเสริมสร้างสุขภาพจิตดี ศพด.บ้านบาโงสนิง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-3-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด