กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนวัดปรางแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5169-x-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 23 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5169-x-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 23 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,192.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนจะมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวางทั่วทุกภาคของประเทศไทย จากรายงานการเฝ้าระวังโรคล่าสุด เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2561 (สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข, 2561) พบว่า ในปี 2560 ที่ผ่านมา มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งประเทศ สะสมรวม 53,190 ราย โดยมีอัตราป่วยสูงถึง 80.8 ต่อประชากรแสนคน โดยพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 10-14 ปีโดยมีอัตราป่วยสูงสุดถึง 243.79 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 5-9 ปีโดยมีอัตราป่วยสูงสุดถึง 178 ต่อประชากรแสนคนและอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุด คือ นักเรียน ร้อยละ 42.16 รองลงมา คือ รับจ้างและไม่ทราบอาชีพ ตามลำดับ ในระดับภาค พบว่า ภาคใต้มีอัตราป่วยสูงสุด คือ 136 ต่อประชากรต่อแสนคน รองลงมา ได้แก่ ภาคกลางและภาคเหนือ ตามลำดับ และเมื่อเทียบระหว่างจังหวัด พบว่า จังหวัดสงขลามีอัตราป่วยโรคนี้สูงสุดถึง 212.80 ต่อประชากรแสนคน โดยอำเภอคลองหอยโข่งยังครองสถิติการเกิดโรคและการตายเป็นลำดับแรกในระดับอำเภออีกด้วย

นอกจากนี้ ข้อมูลโรคติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน (2560) ยังพบว่า พื้นที่หมู่ที่ 9 บ้านมะพร้าวออก ของตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกถึง 7 คน คิดเป็นร้อยละ 77.78 ของโรคติดต่อที่พบในหมู่บ้าน สอดคล้องกับการให้ข้อมูลของผู้นำชุมชน และข้อมูลจากแบบสอบถามเชิงลึกที่คณะนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ลงสำรวจและเก็บรวบรวม ระหว่างวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2561 ในเรื่องการเกิด การกระจาย และสาเหตุการเกิดโรคไข้เลือดออก ซึ่งพบว่า ในช่วงปีที่ผ่านมา ยังมีการเจ็บป่วยด้วยโรคนี้ และเมื่อถามถึงความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรค ตลอดจนทัศนคติต่อการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายของชุมชน พบว่า ยังมีบางพื้นที่ในชุมชนไม่เห็นด้วยกับวิธีการจัดการที่ปฏิบัติอยู่ เช่น การคัดแยกขยะ และจากการลงสำรวจพื้นที่จริง พบว่า บางครัวเรือนยังมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตามหลัก 5 ป 1 ข และการกำจัดขยะตามหลัก 3Rs ไม่ถูกต้อง ชัดเจน และสภาพแวดล้อมจริงของชุมชน ยังปรากฏพื้นที่ที่อาจเป็นบ่อเกิดหรือแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรค โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีน้ำขังตามคูน้ำและบริเวณรอบที่อยู่อาศัย นอกจากนั้น ยังพบน้ำขังในเศษภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว รวมทั้งที่ทิ้งขยะรวมของหมู่บ้านซึ่งมีเพียงแหล่งเดียวเท่านั้น

อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาทุนทางสังคมของชุมชนข้างต้นที่จะเอื้อต่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าว พบว่า ผู้นำชุมชนตั้งแต่ระดับตำบล อันได้แก่ นายกเทศมนตรีตำบลทุ่งลาน ปลัดเทศบาลตำบลทุ่งลาน กำนันตำบลทุ่งลาน ผู้ใหญ่บ้านและคณะกรรมการหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ที่ 9 บ้านมะพร้าวออก รวมทั้งผู้อำนวยการโรงเรียนวัดปรางแก้วซึ่งเป็นโรงเรียนติดชุมชน ต่างก็มีความมุ่งมั่น ร่วมใจและต้องการแก้ปัญหาทุกข์ภัยของประชาชน โดยแสดงเจตจำนงชัดเจนต่อที่ประชาคมหมู่บ้านซึ่งคณะนักศึกษาพยาบาลฯ ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ผ่านมา ถึงความต้องการร่วมกันแก้ไขปัญหาและสาเหตุ บ่อเกิดของโรคภัยดังกล่าว

อนึ่ง การแก้ปัญหาดังกล่าวจะเกิดความยั่งยืนได้ ควรเริ่มจากการปลูกฝังทัศนคติ การให้ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องแก่บุตรหลานของคนในชุมชน และโรงเรียนวัดปรางแก้วซึ่งเป็นโรงเรียนในพื้นที่ได้ดำเนินการเพื่อตัดวงจรลูกน้ำยุงลายและจัดการสิ่งแวดล้อม ผ่านโครงการรณรงค์และป้องกันไข้เลือดออก และ โครงการ Zero Waste ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 โดยได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเทศบาลทุ่งลานเป็นปีแรก

ดังนั้น เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนของการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงเรียนวัดปรางแก้ว ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน เทศบาลตำบลทุ่งลาน และ ผู้นำชุมชนหมู่ที่ 9 บ้านมะพร้าวออก จึงจัดทำโครงการ “บ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในระดับครัวเรือนและชุมชน เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และปรับทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5 ป 1 ข และการคัดแยกขยะตามหลัก 3 Rsของนักเรียนและครอบครัวนักเรียนในชุมชน รวมทั้งเป็นการส่งเสริมจิตสาธารณะให้เกิดแก่นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลาน ครอบครัว ชุมชนบ้านมะพร้าวออก เกิดพันธะสัญญาร่วมกันขององค์กรทุกภาคส่วนในชุมชนเพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้โรคไข้เลือดออก ในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนและคนในชุมชน ในการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5ป1ข / 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใหักับนักเรียน คนในชุมชน ในการคัดแยกขยะตามหลัก 3rs และการจัดการสิ่งแวดล้อมตามหลักสุขาภิบาล / 3. เพื่อปรับทัศนคติของเด็กนักเรียน และคนในชุมชน ในเรื่องการคัดแยกขยะ และการป้องกันโรคไข้เลือดออก / 4. เพื่อให้นักเรียนและคนในชุมชน สามารถจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้อย่างถูกต้อง / 5. เกิดพันธะสัญญาในการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน / 6, ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
  2. ประชุมประชาคม
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  4. อบรมให้ความรู้และลงมือปฏิบัติกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในผลกระทบของโรคไข้เลือดออก
  2. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  3. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5 ป 1 ข
  4. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะและการจัดการสิ่งแวดล้อม
  5. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการมีการจัดการสิ่งแวดล้อมสะอาดตามหลักสุขาภิบาล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนและคนในชุมชน ในการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5ป1ข / 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใหักับนักเรียน คนในชุมชน ในการคัดแยกขยะตามหลัก 3rs และการจัดการสิ่งแวดล้อมตามหลักสุขาภิบาล / 3. เพื่อปรับทัศนคติของเด็กนักเรียน และคนในชุมชน ในเรื่องการคัดแยกขยะ และการป้องกันโรคไข้เลือดออก / 4. เพื่อให้นักเรียนและคนในชุมชน สามารถจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้อย่างถูกต้อง / 5. เกิดพันธะสัญญาในการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน / 6, ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5ป 1ข 2. ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะและการจัดการสิ่งแวดล้อม 3. ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีทัศนคติเชิงบวกต่อการคัดแยกขยะและการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้อย่างถูกต้อง 5. มีเอกสารแสดงถึงข้อตกลงร่วมกันระหว่างองค์กรต่างๆในพื้นที่ ๑ ฉบับ ในการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลานในชุมชน 6. ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในระัดบมากถึงมากที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 232
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนและคนในชุมชน ในการป้องกันไข้เลือดออกตามหลัก 5ป1ข  / 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใหักับนักเรียน คนในชุมชน ในการคัดแยกขยะตามหลัก 3rs และการจัดการสิ่งแวดล้อมตามหลักสุขาภิบาล / 3. เพื่อปรับทัศนคติของเด็กนักเรียน และคนในชุมชน ในเรื่องการคัดแยกขยะ และการป้องกันโรคไข้เลือดออก / 4. เพื่อให้นักเรียนและคนในชุมชน สามารถจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้อย่างถูกต้อง / 5. เกิดพันธะสัญญาในการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน / 6, ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล (2) ประชุมประชาคม (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) อบรมให้ความรู้และลงมือปฏิบัติกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านมะพร้าวออกรวมใจ สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไร้ไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5169-x-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนวัดปรางแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด