กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์
รหัสโครงการ 60-L3066-01-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ(รักษาการ)
วันที่อนุมัติ 12 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2560
งบประมาณ 16,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบุญยา แวโต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,101.072place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 92 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาสาธาณสุขที่สำคัญที่สำคัญของประเทศไทยเนื่องจากมีผลกระทบต่อประชาชนไทยทุกกลุ่มวัยได้แก่ เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน หญิงวัยเจริญพันธ์ุ หญิงตั้งครรภ์ และผู้สูงอายุภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์เป็นปัญหาสุขภาพที่แทรกซ้อนขึ้นมาระหว่างตั้งครรภ์สามารถเกิดขึ้นได้เสมอ เป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่คนท้องควรระวังและต้องให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะผลกระทบไม่ได้เกิดขึ้นกับแม่ท้องคนเดียว แต่ยังจะส่งผลกระทบต่อทารกน้อยในครรภ์ที่มีภาาวะโลหิตจางจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักตำ่กว่า ๒๕๐๐ กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอก และมีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง จากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในปีงบประมาณ ๑๕๕๙ ในประเทศไทยพบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สูลถึงร้อยละ ๑๗.๓๔ ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกิน ร้อยละ ๑๐ นอกจากนี้ยังพบว่าเขตสุขภาพที่ ๑๒ พบถึงร้อยละ๑๘.๑๒ จังหวัดปัตตานีพบถึงร้อยละ ๒๐.๐๐ พบที่อำเภอหนองจิก พบร้อยละ ๒๒.๒๘ และพบที่หมู๋ ๑,๒,(และ๗ ตำบลท่ากำชำ เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ร้อยละ ๒๒.๐ จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำจึงไดจัดทำโครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธ์เป็นวัยที่มีความสำคัญและส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติ โดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วนตนเองอันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดประชุมชี้แจงคณะทำงานที่รับผิดชอบในการจัดทำโครงการ 2.จัดทำโครงการ เสนอ คณะกรรมการองค์การบริหารส่วนตำบล 3.ประชาสัมพันธ์ให่กลุ่มเป้าหมายตรวจวัดค่าอีโมโกลบิน 4.ดำเนินการตรวจค่าฮีโมโกลบินให้กลุ่มเป้าหมาย 5.จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 6.สรุป ประเมินผล และรายงานผลการประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด 2.ลดอัตราการตกเลือดหลังคลอด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2560 11:41 น.