โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูญ สังข์ทองกูล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง
ตุลาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5209-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5209-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับประเทศปัญหาหนึ่ง ระยะแรกของการระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยมักมีการระบาดปีเว้นปีหรือปีเว้นสองปีแต่ในระยะหลังกลับพบว่าการระบาดไม่มีแบบแผนแน่นอน จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกเดือนมกราคมถึงตุลาคม ปี ๒๕๕๘ ของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม ๑๓๙,๖๘๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๑๗.๓๕ ต่อแสนประชากรจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๕ ร้อยละ ๑๓๖.๗ (๒.๔ เท่า) สำหรับสถานการณ์ของโรคในอำเภอบางกล่ำในระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคมปี พ.ศ.๒๕๕๙พบผู้ป่วย จำนวน ๙๖ รายคิดเป็นอัตราป่วย ๒๔๓.๓๑ ต่อแสนประชากร และตำบล ท่าช้างพบผู้ป่วยจำนวน๗๓ ราย คิดเป็นอัตราป่วย๓๗๒.๐๐ ต่อแสน ในระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคมปี พ.ศ.๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวน ๓๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๕๐๙.๖ ต่อแสนประชากร ด้วยเหตุนี้ การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องมีมาตรการการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและระดมความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก
ในการนี้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเร่งรัด การควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และการส่งเสริมการป้องกันโรคและการระบาดของโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการภาคเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๑ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แบบครอบคลุมในพื้นที่เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนอย่างเร่งด่วน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร
- ๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนจุดเสี่ยง ทั้ง ๖ ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร ค่า HI CI ในชุมชน ไม่เกินร้อยละ ๑๐ โรงเรียน ศาสนสถาน ศูนย์เด็กและส่วนราชการ ค่า HI,CI เท่ากับศูนย์ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
0.00
2
๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
ตัวชี้วัด : ค่า HI CI ในชุมชน ไม่เกินร้อยละ ๑๐ โรงเรียน ศาสนสถาน ศูนย์เด็กและส่วนราชการ ค่า HI,CI เท่ากับศูนย์ ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร (2) ๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนจุดเสี่ยง ทั้ง ๖ ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5209-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนูญ สังข์ทองกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูญ สังข์ทองกูล
ตุลาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5209-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5209-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับประเทศปัญหาหนึ่ง ระยะแรกของการระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยมักมีการระบาดปีเว้นปีหรือปีเว้นสองปีแต่ในระยะหลังกลับพบว่าการระบาดไม่มีแบบแผนแน่นอน จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกเดือนมกราคมถึงตุลาคม ปี ๒๕๕๘ ของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม ๑๓๙,๖๘๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๑๗.๓๕ ต่อแสนประชากรจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๕ ร้อยละ ๑๓๖.๗ (๒.๔ เท่า) สำหรับสถานการณ์ของโรคในอำเภอบางกล่ำในระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคมปี พ.ศ.๒๕๕๙พบผู้ป่วย จำนวน ๙๖ รายคิดเป็นอัตราป่วย ๒๔๓.๓๑ ต่อแสนประชากร และตำบล ท่าช้างพบผู้ป่วยจำนวน๗๓ ราย คิดเป็นอัตราป่วย๓๗๒.๐๐ ต่อแสน ในระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคมปี พ.ศ.๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวน ๓๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๕๐๙.๖ ต่อแสนประชากร ด้วยเหตุนี้ การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องมีมาตรการการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและระดมความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก ในการนี้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเร่งรัด การควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และการส่งเสริมการป้องกันโรคและการระบาดของโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการภาคเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๑ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แบบครอบคลุมในพื้นที่เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนอย่างเร่งด่วน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร
- ๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนจุดเสี่ยง ทั้ง ๖ ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร ค่า HI CI ในชุมชน ไม่เกินร้อยละ ๑๐ โรงเรียน ศาสนสถาน ศูนย์เด็กและส่วนราชการ ค่า HI,CI เท่ากับศูนย์ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร |
0.00 |
|
||
2 | ๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน ตัวชี้วัด : ค่า HI CI ในชุมชน ไม่เกินร้อยละ ๑๐ โรงเรียน ศาสนสถาน ศูนย์เด็กและส่วนราชการ ค่า HI,CI เท่ากับศูนย์ ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบให้มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร (2) ๒ เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนจุดเสี่ยง ทั้ง ๖ ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5209-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนูญ สังข์ทองกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......