กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
อสม.หมู่ที่ 5




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5293-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนชาวไทย ประชาชนนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น เกิดการแข่งขันในสังคม จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การขาดการออกกำลังกาย ความเร่งรีบในการทำงาน ความเครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข สำหรับสถานการณ์ของโรคความดันโลหิตสูง โดยองค์การอนามัยโลกพบว่าทั่วโลกมีผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงเกือบถึงพันล้านคน โดย ๒ ใน ๓ ของในจำนวนนี้อยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนาซึ่งประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่กำลังพัฒนา จากข้อมูลสถิติสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขในประเทศไทยพบว่าจำนวนผู้ป่วยในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๖ จำนวน ๑๐๙,๓๘๕ ราย ๑๒๖,๓๘๐ ราย และ ๑๕๖,๔๔๒ ราย และอัตราการตายจากภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๖ เท่ากับ ๓,๖๖๔ ราย ๓,๖๘๔ ราย และ ๓,๗๖๑ ราย จากรายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประจำปี ๒๕๕๘ จากฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เข้ารับบริการมีรายงานผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยรวม๗๕๐,๒๔๘ ราย อุบัติการณ์ ๑,๑๔๖.๗๐ ต่อประชากรแสนคน ซึ่งผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงนี้ประกอบด้วย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอย่างเดียว ๔๘๒,๓๕๙ ราย ร้อยละ ๖๔.๒๙ อัตราป่วย ๗๓๗.๒๕ ต่อแสนประชากร และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเบาหวานร่วมด้วย ๒๖๗,๘๘๙ ราย ร้อยละ ๓๕.๗๑ อัตราป่วย ๔๐๙.๔๕ ต่อประชากรแสนคน ในจำนวนนี้เสียชีวิต ๗,๗๒๙ ราย อัตราตาย ๑๑.๘๑ ต่อประชากรแสนคน จะเห็นได้ว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละปี และพบว่าจังหวัดสตูลมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่เกิดขึ้น จากการศึกษาข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดสตูลในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา จากกลุ่มเป้าหมาย ๙๓,๖๙๗ ราย คัดกรอง ๘๗,๕๘๔ ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๒๑,๔๓๐ ราย และกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูง ๓,๖๗๒ ราย และในอำเภอทุ่งหว้า จากกลุ่มเป้าหมาย ๗,๑๙๙ ราย คัดกรอง ๖,๕๙๒ ราย พบกลุ่มเสี่ยง ๒,๐๙๐ ราย และยังพบว่าในหมู่ที่ ๕ บ้านท่าขามพบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๓๕ ราย จากผู้มาคัดกรอง ๑๔๕ ราย ซึ่งโดยภาพรวมทั้งประเทศแล้ว ถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญ เพราะนอกจากจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตของบุคคลแล้วยังทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้ และยังทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ยังมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ อีกด้วย ดังนั้นนิสิตสาธารณสุขศาสตร์ปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุงและอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๕ บ้านท่าขามได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาของโรคความดันโลหิตสูงจึงได้มีการจัดโครงการ“ชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง”โดยการให้ความรู้และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก ๓อ ๒ส และการนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ในการประกอบอาหาร หรือทำเป็นเครื่องดื่มรับประทาน เพื่อที่จะช่วยลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งจะนำไปสู่การลดอัตราป่วยและทำให้ประชาชนบ้านท่าขาม มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูง
  2. ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นที่สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงได้
  3. ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก ๓อ ๒ส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. อบรมสมนุนไพร ลดความดัน /เต้นแอโรบิค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 35
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามหลัก ๓อ ๒ส และสามารถสามารถนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ๒.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๓.ผู้เข้าร่วมโครงการหันมาบริโภคสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูง ๔.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ๑.มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นที่สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงได้
ตัวชี้วัด : ๒.ผลการประเมินความรู้หลังเข้าร่วมโครงการ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก ๓อ ๒ส
ตัวชี้วัด : .ผลการประเมินความพึ่งพอใจร้อยละ ๘๐ .ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพได้ถูกต้องตามหลัก ๓อ ๒ส ร้อยละ ๗๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 35
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูง (2) ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นที่สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงได้ (3) ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก ๓อ ๒ส

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมสมนุนไพร ลดความดัน /เต้นแอโรบิค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนท่าขาม เสริมสร้างสุขภาพดี ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อสม.หมู่ที่ 5 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด