กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซอมารีเยาะห์บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 20 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-PKL-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่นการเร่งรีบการทำงาน บริโภคอาหารไม่คำนึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในปี 2561 เป้าหมายประชากร 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,215 คน คัดกรองได้ 2,151 คน พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 175 คน คิดเป็นร้อยละ 7.26 คน และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 194 คน ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากล่อ ที่ทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงสุขภาพภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้ทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง
  2. 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง /โรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการและวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานให้แก่คณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองความดัน /เบาหวาน เชิงรุกโดย จนท.ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่
  3. กิจกรรมจัดประชุมแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม
  4. กิจกรรมจัดประกวดประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ
  5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อัตราการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง ประชาชนรู้ถึงวิธีการป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีเครือขาย / แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2 ส และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองความดัน /เบาหวาน เชิงรุกโดย จนท.ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่

วันที่ 4 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองความดัน เบาหวานและค่าBMI ของประชาชนในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 30 คน

 

450 0

2. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการและวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานให้แก่คณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

วันที่ 17 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 3 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมประชุมชี้แจ้งโครงการ ทุกครั้ง

 

10 0

3. กิจกรรมจัดประชุมแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม

วันที่ 18 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดประชุมแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง • อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงครั้งที่1 เรื่องพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคและโรคต่าง ๆ ที่เกิดจากพฤติกรรม o ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม o คัดกรองความดัน/ส่วนสูง • อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 1 เรื่องพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคและโรคต่าง ๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมโดยวิทยากร - มอบสมุดบันทึกประจำตัวกลุ่มเสี่ยงและเอกสารให้ควมรู้แก่ประชาชนที่มีกลุ่มเสี่ยง • กิจกรรมครั้งที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. 2 ส. o กิจกรรมออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1มีประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถลดน้ำหนัก 5-12 กิโลกรัมได้จำนวน 3 คน 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 24 คนสามารถเปลี่ยนจากพฤตกรรมเสี่ยงกลายเป็นพฤติกรรมดี ได้ 

 

30 0

4. กิจกรรมจัดประกวดประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ

วันที่ 19 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มอบเกียรติบัตรแก่ผู้ลดน้ำหนัก5-12 กิโลกรัมรวมทั้งลดความเสี่ยงได้ดีจากพฤติกรรมตลอดกิจกรรม 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงลดน้ำหนัก5-12 กิโลกรัม จำนวน 3 คน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชากลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองและสามารถปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
90.00 90.00

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 27 คนมีความรู้และปฎิบัติได้อย่างถูกต้องจากทั้งหมด 30 คน คิดเป็นร้อยละ 90

2 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง /โรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนสุขภาพ
10.00 27.00

ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ถูกต้องและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง (2) 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง /โรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการและวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานให้แก่คณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองความดัน /เบาหวาน เชิงรุกโดย จนท.ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่ (3) กิจกรรมจัดประชุมแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม (4) กิจกรรมจัดประกวดประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ (5) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

กิจกรรมไม่ครอบคลุมทั้งหมดของกลุ่มเสี่ยงในตำบล

กลุ่มเป้าหมายมาก

จัดกิจกรรมให้ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงทั้งตำบลและมีการตามผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ เชิญเป็นกลุ่มตัวอย่างในการปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จ


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ด้วยตัวเรา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซอมารีเยาะห์บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด