กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายยุทธิชัยคุ่มเคี่ยมหัวหน้าฝ่ายบริหารสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 176,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคน การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และการมีสุขภาพที่ดียังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย การดำรงชีวิตในปัจจุบันต้องเผชิญกับปัญหามลพิษต่างๆ มากมาย รวมทั้งผลกระทบจากการทำงานที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยที่เราไม่ทันรู้ตัว การหลบซ่อนของอาการบางอย่างที่ยังไม่แสดงออกมาให้เห็น หรือเมื่อทราบก็สายเกินกว่าจะแก้ไข ดังนั้น การตรวจสุขภาพประจำปีจึงเป็นการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคหรือความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อีกทั้งเป็นการเฝ้าระวังการเกิดโรค การลดความรุนแรงของโรคและยังสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการที่อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดจนสามารถให้การรักษาตั้งแต่อาการยังไม่รุนแรงและหายจากอาการของโรคได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด การเก็บขนสิ่งปฏิกูล การพ่นสารเคมีกำจัดยุง การตรวจสุขาภิบาลอาหาร และการดูแลรักษาผู้ป่วย การปฏิบัติงานเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของคนทำงาน เนื่องจากสุขภาพอนามัยเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทำงานของพนักงานจ้างในกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ เพราะพนักงานจ้างที่มีสุขภาพอนามัยที่ไม่ดีส่งผลให้ขาดงานหรือลาป่วยบ่อย จึงมีผลกระทบต่อหน้าที่การงานโดยตรงและยังมีผลกระทบกับประเทศด้วย เนื่องจากการใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลที่นับวันจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องสุขภาพของประชาชน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังทางสุขภาพของพนักงานจ้างขึ้นเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพและได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อสร้างความตระหนักให้บุคลากรดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้พนักงานจ้างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
  2. 2.2 เพื่อให้พนักงานจ้างได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 290
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    9.๑ พนักงานจ้างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและสามารถตนปฏิบัติได้ถูกต้อง
    9.2 พนักงานจ้างในกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง 9.3 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมีพนักงานจ้างที่มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง พร้อมที่จะปฏิบัติงานให้อย่างเต็ม ศักยภาพและมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ     - เรื่อง การดูแลตัวเองให้พร้อมในการทำงาน โดย พ.จ.อ.ยุทธิชัย คุ่มเคี่ยม หัวหน้าฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข     - เรื่องให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง อยู่อย่างไรให้ปลอดภัยในการทำงาน โดย วิทยากร จาก โรงพยาบาลสงขลา นางเสาวลักษณ์ แก้วมณี หัวหน้าฝ่ายอาชีวะเวชกรรม     วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2561 เวลา 13.00 – 16.30 น. ห้องประชุมสารภี 2 ชั้น 5    เทศบาลนครสงขลา
      3.2 กิจกรรมตรวจสุขภาพ ตรวจพนักงานจ้าง สังกัดกองสารณสุขและสิ่งแวดล้อม จำนวน 290 คน แจ้งชื่อเข้ารับการตรวจ 89 คน เข้ารับการตรวจสุขภาพ 59 คน
    เพศชาย กลุ่มอายุน้อยกว่า 35 ปี 4 คน ผลการตรวจทั่วไป
    กลุ่มผอมระดับ 1  1 คน กลุ่มปกติ      31 คน กลุ่มเริ่มอ้วน    10 คน กลุ่มอ้วนระดับ 1  10 คน กลุ่มอ้วนระดับ 2  7 คน เพศหญิง กลุ่มอายุน้อยกว่า 35 ปี 23 คน และ กลุ่มอายุมากกว่า 35 ปี 26 คน
    ตรวจ 1. ดัชนีมวลกาย     2. ตรวจความดันโลหิต ขณะหัวใจบีบตัว กลุ่มปกติ 29 คน กลุ่มเสี่ยง 22 คน                   ขณะหัวใจคลายตัว กลุ่มปกติ 32 คน กลุ่มเสี่ยง 15 คน     3. ตรวจความเข้มข้นของเลือด เพศชาย ปกติ 10 คน                         เพศหญิง ปกติ 43 คน ต่ำ 5 คน     4. ไขมันในเลือด ปกติ 17 คน เริ่มสูง 22 คน สูง 18 คน สูงมาก 1 คน     5. น้ำตาลในเลือด ปกติ 29 คน เริ่มสูง 1 คน สูงเป็นเบาหวาน 2 คน     6. ตรวจการทำงานของไต ปกติ ร้อยละ 100     7. ตรวจปัสสาวะ ปกติ 6 คน ผิดปกติ 6 คน     8. ตรวจอุจจาระ ปกติ 9 คน ผิดปกติ 9 คน     9. ตรวจเอ็กซเรย์ ปกติ 52 คน ผิดปกติ 3 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.1 เพื่อให้พนักงานจ้างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 3.๑ พนักงานจ้างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
    0.00 57.93

     

    2 2.2 เพื่อให้พนักงานจ้างได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
    ตัวชี้วัด : 3.2 พนักงานจ้างได้รับการตรวจและทราบผลการตรวจสุขภาพ ร้อยละ 80
    0.00 20.34

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 290 59
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 290 59
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)    2.1 เพื่อให้พนักงานจ้างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง    (2) 2.2 เพื่อให้พนักงานจ้างได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้าง กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายยุทธิชัยคุ่มเคี่ยมหัวหน้าฝ่ายบริหารสาธารณสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด