กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

3.1 จัดทำโครงการเพื่อพิจารณาเห็นชอบและอนุมัติให้ดำเนินการ
  3.2 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อชี้แจง/ติดตามประเมินผลโครงการ
  3.3 แต่งตั้งคณะทำงานควบคุมวัณโรค   3.4 พัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและควบคุมวัณโรค
  3.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ดูแล และ อสม.ในชุมชน โดยใช้สื่อการเฝ้าระวังติดตาม       ผู้ป่วย   3.6 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยแกนนำ อสม.ทุกเดือน เดือนที่ 1-2 เยี่ยม 2 ครั้ง เดือนที่ 3-6 เยี่ยม       เดือนละ 1 ครั้ง รวมทั้งหมด 8 ครั้ง พร้อมทั้งติดตามดูแลในเรื่องการรับประทานยาของผู้ป่วย   3.7 ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากผู้สัมผัสร่วมบ้าน (กลุ่มเสี่ยง) โดยแกนนำ อสม.   3.8 สรุปผลการดำเนินงานโครงการและประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.๑ การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการและชุมชน มากกว่าร้อยละ 90
0.00 30.20

การดำเนินการค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงยังไม่ ครอบคลุมทุกกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 30.2

2 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.2 อัตราสำเร็จการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ มากกว่าร้อยละ 90
0.00 97.33

ผู้ป่วยทั้งหมด 75 ราย
- รักษาหาย 50 ราย - กำลังรักษา 23 ราย - ดื้อยา 2 ราย คิดเป็นรักษาหายและกำลังรักษาปกติ ร้อยละ 97.33

3 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.3 อุบัติการณ์ของการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ไม่เพิ่มขึ้น
0.00 51.00

จำนวนการเกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ผู้ป่วยรายเก่า ปี 59-60 จำนวน 24 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ ปี 61 จำนวน 51 ราย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 155
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 155
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)    2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (2) 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (3) 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh