โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรรณีพรหมอ่อนประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 351,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทย ที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จากข้อมูลของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ประชากรไทยในปี 2558 มีจำนวน 65.1 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมดและคาดการณ์ว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้น
จากข้อมูลประชากรกลางปี งานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครสงขลา พบว่า พ.ศ. 2558 มีประชากร
ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 9,638 คน คิดเป็นร้อยละ 14.46และ พ.ศ. 2560 มีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 10,195 คน คิดเป็นร้อยละ 15.9ของประชากรทั้งหมดจากการสำรวจพบจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในปี 2559 – 2561 พบว่ามีจำนวน 59 คน, 60 คนและ 74 คน ตามลำดับจะเห็นได้ว่าจำนวนของผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จะมีจำนวนมากขึ้นตามลำดับ
รัฐบาลมีนโยบายด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุในทุกช่วงวัย จึงสนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตั้งแต่พ.ศ. 2556 ปัจจุบันมีจำนวน 878 แห่ง ใน 76 จังหวัด เพื่อสนองตอบนโยบายดังกล่าว เทศบาลนครสงขลาได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ขึ้นในปี 2560 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้มีการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพโดยสนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ อย่างครอบคลุม ใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและบริการสาธารณะ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมศักยภาพให้สามารถพึ่งตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามสภาพการเจ็บป่วยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลาปี 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
- 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
- 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ
2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
420
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครสงขลา มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตในสังคมด้วยความปกติสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.1 ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 26 มีนาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 23 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 24 พฤษภาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 12 คน
3.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของ Care Giver
จำนวน 3 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 13 มีนาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การดูแลระบบทางเดินหายใจและการดูดเสมหะ
- เรื่อง การให้อาหารทางสายยาง
- เรื่อง แนวทางการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครสงขลา
ครั้งที่ 2 วันที่ 3 เมษายน 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การดูแลความสะอาดผู้ป่วยติดเตียง
- เรื่อง การทำแผลและการดูแลป้องกันแผลกดทับ
- เรื่อง การนำเสนอ Case study การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่
ครั้งที่ 3 วันที่ 17 เมษายน 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การกายภาพบำบัดที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง
- เรื่อง การจัดบริการแพทย์แผนไทยที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง
3.3 การจัดทำกางเกงผ้าอ้อม (ชนิดใช้ซ้ำ) และเบาะเจลป้องกันแผลกดทับสำหรับผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึ่งพิง
- กางเกงผ้าอ้อมชนิดใช้ซ้ำ จำนวน 50 ตัว
- เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ จำนวน 12 อัน
3.4 การจัดซื้อชุดอุปกรณ์สำหรับการปฏิบัติงานของ Care Giver จำนวน 7 ชุด
3.5 กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านส่งเสริมสุขภาพกาย จิต สังคมของผู้สูงอายุในชุมชน
จำนวน 12 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายครั้งละ 40 คน
ครั้งที่ 1 วันที่ 11 เมษายน 2561
เรื่อง การออกกำลังกายด้วยไม้พลอง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 26 เมษายน 2561
เรื่อง การทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 10 พฤษภาคม 2561
เรื่อง การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ครั้งที่ 4 วันที่ 17 พฤษภาคม2561
กิจกรรมสัญจร สาธิตการทำอาหาร
เพื่อสุขภาพ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 5 วันที่ 14 มิถุนายน 2561
เรื่อง การออกกำลังกายด้วยตารางเก้าช่อง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 34 คน
ครั้งที่ 6 วันที่ 28 มิถุนายน 2561
เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพการทำขนมช่อม่วง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 43 คน
ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2561
เรื่อง ศาสตร์มณีเวชกับสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน
ครั้งที่ 8 วันที่ 26 กรกฎาคม 2561
เรื่อง การลดข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 คน
ครั้งที่ 9 วันที่ 9 สิงหาคม 2561
เรื่อง ฝึกทำ – ฝึกใช้ลูกประคบไทย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ (ช่อดอกไม้แสดงความยินดี และพานดอกไม้ ) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 27 คน
ครั้งที่ 11 วันที่ 30 สิงหาคม 2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ ( ช่อดอกไม้แสดงความยินดีขนาดเล็ก ) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
ครั้งที่ 12 วันที่ 13 กันยายน 2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ (การทำดอกไม้จากธนบัตร )
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 37 คน
3.6 การจัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์ ฯ พร้อมติดตั้ง จำนวน 5 ผืน
4. ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ผลงานผ่านตัวชี้วัด 2 ตัวชีวัด จาก 3 ตัวชี้วัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
ตัวชี้วัด : 3.๑ จำนวนผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรมมีมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายในแต่ละกิจกรรม
0.00
80.00
จำนวนผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 80
9 ครั้งจาก 12 ครั้ง
2
2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : 3.๒ ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมในระดับดี
0.00
0.00
- จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
มีความพึงพอใจในระดับดี ทุกครั้ง
- จำนวน Care Giver ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับดี
ทุกครั้ง
3
2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ
2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.๓ ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกตามแผนการพยาบาล
0.00
124.32
จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 74 คน ได้รับบริการเชิงรุก ตามแผนการพยาบาล ทั้ง 74 คน
และ มีผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลเพิ่มเติมอีก 18 คน รวมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ได้รับบริการเชิงรุก ทั้งหมด 92 คน คิดเป็นร้อยละ 124.32
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
420
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
420
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา (2) 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต (3) 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ
2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพรรณีพรหมอ่อนประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรรณีพรหมอ่อนประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 351,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทย ที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จากข้อมูลของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ประชากรไทยในปี 2558 มีจำนวน 65.1 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมดและคาดการณ์ว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้น
จากข้อมูลประชากรกลางปี งานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครสงขลา พบว่า พ.ศ. 2558 มีประชากร
ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 9,638 คน คิดเป็นร้อยละ 14.46และ พ.ศ. 2560 มีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 10,195 คน คิดเป็นร้อยละ 15.9ของประชากรทั้งหมดจากการสำรวจพบจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในปี 2559 – 2561 พบว่ามีจำนวน 59 คน, 60 คนและ 74 คน ตามลำดับจะเห็นได้ว่าจำนวนของผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จะมีจำนวนมากขึ้นตามลำดับ
รัฐบาลมีนโยบายด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุในทุกช่วงวัย จึงสนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตั้งแต่พ.ศ. 2556 ปัจจุบันมีจำนวน 878 แห่ง ใน 76 จังหวัด เพื่อสนองตอบนโยบายดังกล่าว เทศบาลนครสงขลาได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ขึ้นในปี 2560 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้มีการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพโดยสนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ อย่างครอบคลุม ใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและบริการสาธารณะ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมศักยภาพให้สามารถพึ่งตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามสภาพการเจ็บป่วยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลาปี 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
- 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
- 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ 2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 420 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครสงขลา มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตในสังคมด้วยความปกติสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.1 ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 26 มีนาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 23 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 24 พฤษภาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 12 คน
3.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของ Care Giver
จำนวน 3 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 13 มีนาคม 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การดูแลระบบทางเดินหายใจและการดูดเสมหะ
- เรื่อง การให้อาหารทางสายยาง
- เรื่อง แนวทางการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครสงขลา
ครั้งที่ 2 วันที่ 3 เมษายน 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การดูแลความสะอาดผู้ป่วยติดเตียง
- เรื่อง การทำแผลและการดูแลป้องกันแผลกดทับ
- เรื่อง การนำเสนอ Case study การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่
ครั้งที่ 3 วันที่ 17 เมษายน 2561 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน
- เรื่อง การกายภาพบำบัดที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง
- เรื่อง การจัดบริการแพทย์แผนไทยที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง
3.3 การจัดทำกางเกงผ้าอ้อม (ชนิดใช้ซ้ำ) และเบาะเจลป้องกันแผลกดทับสำหรับผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึ่งพิง
- กางเกงผ้าอ้อมชนิดใช้ซ้ำ จำนวน 50 ตัว
- เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ จำนวน 12 อัน
3.4 การจัดซื้อชุดอุปกรณ์สำหรับการปฏิบัติงานของ Care Giver จำนวน 7 ชุด
3.5 กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านส่งเสริมสุขภาพกาย จิต สังคมของผู้สูงอายุในชุมชน
จำนวน 12 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายครั้งละ 40 คน
ครั้งที่ 1 วันที่ 11 เมษายน 2561
เรื่อง การออกกำลังกายด้วยไม้พลอง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 26 เมษายน 2561
เรื่อง การทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 10 พฤษภาคม 2561
เรื่อง การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ครั้งที่ 4 วันที่ 17 พฤษภาคม2561
กิจกรรมสัญจร สาธิตการทำอาหาร
เพื่อสุขภาพ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 5 วันที่ 14 มิถุนายน 2561
เรื่อง การออกกำลังกายด้วยตารางเก้าช่อง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 34 คน
ครั้งที่ 6 วันที่ 28 มิถุนายน 2561
เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพการทำขนมช่อม่วง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 43 คน
ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2561
เรื่อง ศาสตร์มณีเวชกับสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน
ครั้งที่ 8 วันที่ 26 กรกฎาคม 2561
เรื่อง การลดข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 คน
ครั้งที่ 9 วันที่ 9 สิงหาคม 2561
เรื่อง ฝึกทำ – ฝึกใช้ลูกประคบไทย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน
ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ (ช่อดอกไม้แสดงความยินดี และพานดอกไม้ ) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 27 คน
ครั้งที่ 11 วันที่ 30 สิงหาคม 2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ ( ช่อดอกไม้แสดงความยินดีขนาดเล็ก ) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
ครั้งที่ 12 วันที่ 13 กันยายน 2561
เรื่อง การทำดอกไม้ประดิษฐ์ (การทำดอกไม้จากธนบัตร )
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 37 คน
3.6 การจัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์ ฯ พร้อมติดตั้ง จำนวน 5 ผืน
4. ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ผลงานผ่านตัวชี้วัด 2 ตัวชีวัด จาก 3 ตัวชี้วัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา ตัวชี้วัด : 3.๑ จำนวนผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรมมีมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายในแต่ละกิจกรรม |
0.00 | 80.00 | จำนวนผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 80 |
|
2 | 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต ตัวชี้วัด : 3.๒ ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมในระดับดี |
0.00 | 0.00 |
|
|
3 | 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ
2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน ตัวชี้วัด : 3.๓ ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกตามแผนการพยาบาล |
0.00 | 124.32 | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 74 คน ได้รับบริการเชิงรุก ตามแผนการพยาบาล ทั้ง 74 คน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 420 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 420 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา (2) 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต (3) 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ 2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพรรณีพรหมอ่อนประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......