กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยารียะ หะยีสะอะอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน

ชื่อโครงการ โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61 -PKL - 02 - 06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 20 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61 -PKL - 02 - 06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กุมภาพันธ์ 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนางานส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรคของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานีได้กำหนดให้เด็กทุกคนได้รับวัคซีนครบชุด เนื่องจากเด็กถือว่าเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญในอนาคตของประเทศ ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพที่สมบูรณ์พร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจจึงถือเป็นสิ่งสำคัญ อันจะทำให้บุคลากรของประเทศในอนาคตมีความเข้มแข็งขึ้น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กตั้งแต่แรกเกิดจึงถือว่าเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่ทำให้ลดภาวะเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก อันเป็นการส่งเสริมสุขภาพทางกายอย่างหนึ่ง จากผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในปี 2559 และปี 2560ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี พบว่ากลุ่มเป้าหมายมีอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในกลุ่มอายุ 0-5 ปี ยังมีผลงานที่ไม่ถึงเป้า ปีเป้า ผลงาน ร้อยละ ส่วนขาด (คน) ร้อยละ 2559 72 34 47.22 52.8 38 2560 64 46 71.88 28.12 18

ทางอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้นำชุมชนได้ปรับแผนดำเนินการ พบว่าปัญหาเด็กไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุจากผลการดำเนินงานจะเห็นได้ว่ามีอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่สาธารณสุขจังหวัดกำหนดทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญและขาดความรู้ขาดความตระหนักความเข้าใจ เกี่ยวกับการได้รับวัคซีน มีการย้ายถิ่นบ่อย และทำงานนอกพื้นที่ ต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่องด้วยเหตุดังกล่าวทางกองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานีได้เล็งเห็นปัญหาและความสำคัญของการได้รับวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการ เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีภูมิคุ้มกันจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนอันนำไปสู่การ มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงต่อไป ปีเป้า ผลงาน ร้อยละ ส่วนขาด (คน) ร้อยละ 2559 72 34 47.22 52.8 38 2560 64 46 71.88 28.12 18

ทางอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้นำชุมชนได้ปรับแผนดำเนินการ พบว่าปัญหาเด็กไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุจากผลการดำเนินงานจะเห็นได้ว่ามีอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่สาธารณสุขจังหวัดกำหนดทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญและขาดความรู้ขาดความตระหนักความเข้าใจ เกี่ยวกับการได้รับวัคซีน มีการย้ายถิ่นบ่อย และทำงานนอกพื้นที่ ต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่องด้วยเหตุดังกล่าวทางกองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานีได้เล็งเห็นปัญหาและความสำคัญของการได้รับวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการ เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีภูมิคุ้มกันจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนอันนำไปสู่การ มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้
  2. เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา
  3. ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี
  2. กิจกรรมอบรมแกนนำติดตาม
  3. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกวันอังคารที่ 2,3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก 0-5ปี ได้รับความครอบคลุมบริการวัคซีน 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในการดูแลบุตรหลานหลังรับวัคซีน 3.แกนนำผู้ติดตามมีความรู้ความมั่นใจ 4.ประเมินโดยการถามตอบ และสังเกตุวิธีการดำเนินงานในขณะลงพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี

วันที่ 12 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.การอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี 2.พิธีมอบประกาศนียบัตรสำหรับเด็กที่ฉีดวัคซีนครบ
3.การอบรมเชิงปฏิบัติการ/เรื่องการดูแลหลังบุตรหลานรับวัคซีน 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.1.เด็ก 0-5 ปี  ได้ความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันครบตามเกณฑ์มี  45 คน คิดเป็นร้อยละ 78.95     จากเด็กทั้งหมด 57 คน
2. ผู้ปกครองเด็กและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในการดูแลบุตรหลานหลังรับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น และให้ความสำคัญ           กับประโยชน์ของวัคซีนมากขึ้นโดยมีเด็กที่หลุดจากการรับวัคซีน หรือ ปฏิเสธการรับวัคซีน กลับมารับบริการ เพิ่มขึ้น

 

150 0

2. กิจกรรมอบรมแกนนำติดตาม

วันที่ 16 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทีมติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ก่อนมารับบริการ และหลังมารับบริการทุกวันอังคารที่ 2 ,3  ของทุก 1 เดือน 2.อบรมแกนนำติดตาม จำนวน 10 คน (16 มีนาคม 2561) เพื่อสอบถามปัญหาร่วมกันแก้ไข สร้างความมั่นใจให้แก่แกนนำ   ในการติดตามตอบคำถามผู้ปกครองเรื่องวัคซีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำผู้ติดตามมีความรู้มีความมั่นใจในการติดตามเด็กมารับบริการวัคซีนเพิ่มมากขึ้น กล้าพูดตอบคำถามอธิบาย ให้ผู้ปกครองรับทราบข้อสงสัยได้ 2.เด็กทั้งหมดที่ต้องได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มี 63 คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 45 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43


 

10 0

3. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกวันอังคารที่ 2,3

วันที่ 19 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครองทุกวันที่ 2และ3 ของเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำผู้ติดตามมีความรู้มีความมั่นใจในการติดตามเด็กมารับบริการวัคซีนเพิ่มมากขึ้น กล้าพูดตอบคำถามอธิบาย ให้ผู้ปกครองรับทราบข้อสงสัยได้ 2.เด็กทั้งหมดที่ต้องได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มี 63 คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 45 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43


 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

.1.เด็ก 0-5 ปี ได้ความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันครบตามเกณฑ์มี 45 คน คิดเป็นร้อยละ 78.95   จากเด็กทั้งหมด 57 คน
      2. ผู้ปกครองเด็กและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในการดูแลบุตรหลานหลังรับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น และให้ความสำคัญ       กับประโยชน์ของวัคซีนมากขึ้นโดยมีเด็กที่หลุดจากการรับวัคซีน หรือ ปฏิเสธการรับวัคซีน กลับมารับบริการ เพิ่มขึ้น       3. แกนนำผู้ติดตามมีความรู้มีความมั่นใจในการติดตามเด็กมารับบริการวัคซีนเพิ่มมากขึ้น กล้าพูดตอบคำถามอธิบาย ให้ผู้ปกครองรับทราบข้อสงสัยได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลังได้รับวัคซีน และมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ100
150.00 100.00

ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลังได้รับวัคซีน และมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง

2 เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์ ความสำคัญของวัคซีน นำบุตรมารับวัคซีนตรงตามเวลานัด คิดเป็นร้อยละ 100
150.00 21.05

ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์ ความสำคัญของวัคซีน นำบุตรมารับวัคซีนตรงตามเวลานัด

3 ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ทีมติดตามมีความมั่นใจในการตอบคำถามผู้ปกครอง สามารถติดตามเด็กมารับวัคซีนได้ตามวันเวลานัด
10.00 100.00

ทีมติดตามมีความมั่นใจในการตอบคำถามผู้ปกครอง สามารถติดตามเด็กมารับวัคซีนได้ตามวันเวลานัด - โทรติดตามเด็กวัคซีน -แจ้งทางไลน์ก่อนวันให้บริการ 1วัน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 152
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 152
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ (2) เพื่อให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา (3) ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (2) กิจกรรมอบรมแกนนำติดตาม (3) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกวันอังคารที่ 2,3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

เด็กไม่มาตามนัดรับวัคซีน

1.เด็กอยู่กับยาย พ่อแม่ทำงานที่อื่น 2.พ่อแม่ลืมวันนัด 3.เด็กไปๆ มาๆ ระหว่างพื้นที่ 4.คนใดคนหนึ่งในครอบครัวไม่ให้ฉีด 5.ปัญหาการขาดการแจ้งเกิด ที่มีผลพ่วงต่อวัคซีน

1.ให้แจ้งอสม.ประจำพื้นที่เพื่อพาเด็กมารับวัคซีน 2.มีระบบการเตือนโดยโทรตาม อสม.ตามก่อนวันนัด มี หนังสือติดตาม แจ้งทางไลท์ให้อสม.ตามก่อนวันนัด 5.รวบรวมชื่อคนท้อง ในพื้นที่เพื่อติดตามการคลอดและนัดวัคซีน (จะดำเนินการในโครงการต่อไป) 4. อธิบายถึงความสำคัญให้ทราบเพื่อการตัดสินใจ

3.แจ้งให้ไปรับบริการที่ใดก็ได้โดยพาสมุดสีชมพู


โครงการปากล่อร่วมใจติดตามหนูน้อยSmartkids จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61 -PKL - 02 - 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยารียะ หะยีสะอะอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด