กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐
50.00 81.00

 

2 เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ 2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐ 3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐
50.00 50.00

 

3 เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ตัวชี้วัด : ๑. หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐ 2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ 3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐ 4. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี (2) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ (3) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล  กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (2) จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh