กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมาร์ทอร่ามวงศ์ประธาน อสม.ชุมชนวังเขียว-วังขาว

ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนถือเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในสภาพสังคมไทยปัจจุบัน มีปัจจัย หลายด้านที่ส่งผลกระทบเป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชนไทย เช่น การก่อเหตุทะเลาะวิวาท การลักเล็กขโมยน้อย และการมั่วสุมเสพยาเสพติด เป็นต้นนอกจากนี้ยังมีสิ่งกระตุ้นยั่วเย้าทางด้านวัตถุนิยมและสิ่งมอมเมาให้เยาวชนหลงใหลคลั่งไคล้ในการบริโภคนิยม รวมทั้งปัญหาทางครอบครัวที่มีผลต่อปัญหาดังกล่าวในวัยรุ่น ซึ่งการมั่วสุมเสพยาเสพติด เป็นต้นตอที่ส่งผลทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาอีกหลายอย่าง ถือว่าเป็นปัญหาขั้นวิกฤติของเด็กและเยาวชนในวัยเรียนที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและป้องกันอย่างเร่งด่วนในขณะนี้ ปัญหาเยาวชนติดยาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะเป็นปัญหาที่มักจะโยงใยถึงกัน ซึ่งสาเหตุก็มาจากการอยากรู้อยากลอง ชักชวนกันมั่วสุม ขาดการยับยั้งชั่งใจโดยหน่วยงานต่าง ๆ ต้องร่วมมือกันและเข้ามามีบทบาทในการช่วยกันแก้ไขปัญหานี้เป็นการส่งเสริมและแลกเปลี่ยนความรู้ให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาจากยาเสพติดซึ่งมีสาเหตุมาจากการอยากรู้อยากลอง การชักชวนของเพื่อนฝูง การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการตระหนักถึงพิษภัยและผลเสียของมัน สิ่งยั่วยุความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาในการอบรมเลี้ยงดู ดังนั้น๗ชุมชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติดเพื่อส่งเสริมความรู้ ให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของปัญหายาเสพติด มีทักษะชีวิต มีการปรับทัศนคติ ค่านิยมเกี่ยวกับยาเสพติด ในทางที่ถูกต้องและรู้จักหลีกเลี่ยงภัยอันตรายเหล่านั้น เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด
  2. ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ๔. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เยาวชนได้รับรู้รับทราบถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด ๒.เยาวชนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและมีทักษะในการป้องกันปัญหายาเสพติดของตนเองได้ ๓.เยาวชนที่ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเป็นแกนนำในการให้ความรู้และป้องกันปัญหา ยาเสพติดในชุมชน ๔.เยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของ ยาเสพติดได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลจากยาเสพติด ซึ่งจัดในวันที่    5 พฤษภาคม ๒๕๖1 ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ๒. กิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่ ซึ่งจัดในวันที่ 9 มิถุนายน 2561 ณ สถานที่บำบัด ผู้ติดยาเสพติด (วัดไม้เสียบ) อำเภอชะอวด จ.นครศรีธรรมราช

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ๑. เยาวชนได้รับรู้ถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด ร้อยละ ๘๐ %
    0.00 91.00
    • เยาวชนได้รับรู้ถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด จำนวน ๑๐๐ คน โดยมีคะแนน ก่อนการอบรมร้อยละ 54 และหลังการอบรมร้อยละ
      91 (จากแบบทดสอบ)
    2 ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ๔. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ๒. เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
    0.00 91.00
    • เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จากการเข้าร่วมอบรม จำนวน ๑๐๐ คน คน โดยมีคะแนน ก่อนการอบรมร้อยละ 54 และหลังการอบรมร้อยละ
      91 (จากแบบทดสอบ)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด (2) ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ๔. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กับเยาวชน
    ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลจากสิ่งเสพติด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-2-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมาร์ทอร่ามวงศ์ประธาน อสม.ชุมชนวังเขียว-วังขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด