กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณี ปาทาน




ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้เล็งเห็นความสำคัญของศูนย์เด็กเล็ก ซึ่งเป็นศูนย์รวมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของเด็กในระดับพื้นที่ ที่มีควาสำคัญทั้งทางร่างกาย จิตใจและสมอง หากเด็กเกิดการเจ็บป่วยจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการด้านต่างๆของเด็ก รวมถึงภาวะที่จะเกิดตามมาของผู้ปกครองและครอบครัว และเมื่อมีเด็กป่วยด้วยโรคติดต่อที่พบบ่อยและโรคที่มีความสำคัญ เช่น หวัด ปอดบวม อุจจาระร่วง มือเท้าปากหัด อีสุกอีใส รวมทั้งโรคติดต่อที่ป้องได้ด้วยวัคซีนอื่นๆ ทำให้เกิดการระบาดได้ในศูนย์เด็กเล็ก เนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่มีเด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ดังนั้นการป้องกันและควบคุมโรคที่ดีและมีประสิทธิภาพจะมีส่วนช่วยให้เด็กที่อยู่ในศูนย์เด็กเล็กไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่พบบ่อย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก เพื่อให้เด็กที่อยู่ในศูนย์เด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายที่ดี มีการพัฒนาอย่างสมวัย ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ ด้วยแนวทางของกรมควบคุมโรค โดยใช้ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 3 ประการ ได้แก่ 1. ครูผู้ดูแลเด็กมีสุขภาพและความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อดี 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการบริหารจัดการที่ดี และ 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ดี ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดให้ศูนย์ที่เด็กเล็กที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งทั่วประเทศเป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำค้ญอย่างยิ่งในการชข่วยลดกรเกิดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อดังกล่าว โดยครูผู้ดูแลเด็กเป็นบุคคลากรที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะพัฒนาให้ศูนย์เด็กเล็กปลอดภัยจากโรคต่างๆเนื่องจากเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด้กมากที่สุดในช่วงที่เด็กอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อีกทั้้งเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆของเด็ก และสิ่งสำคัญอีกประการที่จะช่วยให้การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กประสบความสำเร็จได้ เกิดจากความตระหนักความร่วมมือของบุคลากรทุกภาคส่วนและทุกระดับ ทั้งผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์เด็กเล็กอย่างเข้มแข็ง ในปี 2560 พบผู้ป่วยเป็นเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าแพ ป่วยด้วยโรคมือ เท้า และปาก จำนวน 8 ราย จากการสอบสวนโรคพบว่า ผู้ป่วยเป็นนักเรียนที่อยู่ในห้องเรียนเดียวกันทั้งหมด และครวจพบเชื้อเอนเตอโร ไวรัส 71 จำนวน 2 ราย และคอกซากี ชนิดเอ 1 ราย ซึ่งเชื้อเอนเตอโรไวรัส 71 เป็นเชื้อโรคมือ เท้าและปาก ที่มีความรุนแรงมาก อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว
จากความเป็นมาและประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางโรงพยาบาลท่าแพจึงจัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อ เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กได้มีความรู้ ความเข้าใจตลอดจนทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน และนำแนวทางดังกล่าวไปใช้ในการป้องกันควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างถูกต้อง สามารถแพร่กระจายโรคไม่ให้เกิดการระบาด นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดต่อใหม่ๆและโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.เพื่อพัฒนาศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
  2. สามารถพัฒนาเป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคคุณภาพได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.เพื่อพัฒนาศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู็เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อร้อยละ 90 ขึ้นไป 2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์การประเมินศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคอย่างน้อยจำนวน 1 แห่ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.เพื่อพัฒนาศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคติดต่อตำบลท่าแพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณี ปาทาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด