โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดสงขลา ปี 2560

การแนะนำกองทุน สปสช เทสบาลนครหาดใหญ่ แนะนำการเขียนของบประมาณสนับสนุนโครงการ จากกองทุน แก่ผู้มาร่วมมหกรรมสุขภาพแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน และะประชาสัมพันธ์แหล่งงบประมาณให้ชุมชนทราบ ซึ่งประชาชนให้ความสนใจในการขอสนับสนุนงบประมารอยู่ในระดับดี
ประกอบด้วย
ชี้แจงแนวนโยบายการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 มีผู้เข้าร่วมประชุมจัดทำแผน จาก สถานีตำรวจ โรงงาน ชมรม อสม ชุมชน รพสต. กองต่างๆๆในเทศบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีตัวแทนเสนอแผนงานดครงการด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ อุบัติเหตุ การแก้ไขปัญหาดภชนาการในกลุ่มวัยเด็กเล็ก เรื่องผู้สูงอายุ การแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพในกลุ่มชาวต่างด้าว แก้ไขปัญหาในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ แก้ไขปัญหาทางด้านยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน และให้แต่ละชมุชน ส่งแผน ภายในวันที่ 30 กย 2560
ประกอบด้วย
ผู้เข้าร่วมจัดทำแผนสุขภาพ มาจาก ทุกภาคส่วน รพสต. โรงเรียน ชมรมต่างๆๆ ผู้นำชุมชน โรงพยาบาล อสม. กลุ่มเกษตรกร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แผนสุขภาพ ในด้าน สิ่งแวดล้อม ด้านจัดการขยะ บุ่หรี่ อุบัติเหตุ การออกกำลังกาย การแก้ไขปํญหาผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก การป้องกันไข้เลือดออก และให้ส่งแผน ภายใน วันที่ 20 กันยายน 2560
ประกอบด้วย
ผ๔้เข้าร่วมประชุม ทราบนโยบาย และการดำเนินการจัดทำแผนสุขภาพ ดดยได้ หัวข้อการแก้ไขปํญหาโภชนาการในศูนย์เด็กเล็ก การดำเนินกิจกรรมผู้สูงอายุ การป้องกันอุบัติเหตุ การกำจัดขยะ การแก้ไขปัญหาด้านไข้เลือดออก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยนัดให้ส่งแผนภายในวันที่ 20 กันยายน 2560
ประกอบด้วย

มีผู้เข้าร่วมประชุม 9 คน สรุปผลการลงติดตามกองทุน ในพื้นที่จังหวัดสงขลา และสรุปผลปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานกองทุน ในด้านต่างๆๆ เช่น ระเบียบ บุคคลากร ระบบบริหารจัดการภายในองค์กร การประสานงานและการคืนข้อมุล และการยังไม่เข้าใจระบการบันทึกข้อมูลออนไลน์ รวมทั้งสรุปข้อเสนอแนะที่กองทุนสะท้อนข้อมูล
ประกอบด้วย

มีการกำหนดทิศทางแผนสุขภาพของกองทุนตำบล อบต ทับช้าง ไว้9 ประเด็น ประกอบด้วย บุหรี่อุบัติเหตุแม่และเด็กโรคเรื้อรังยาเสพติดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้สูงอายุ โภชนการและพัฒนาการ
ประกอบด้วย
ติดตามในการไม่ลงบันทึกข้อมูลการรับเงินจาก สปสช ดอกเบี้ย และเงินสมทบจากท้องถิ่น ได้ดำเนินการบันทึกการรับเงินจาก สปสช ในระบบ และดอกเบี้ยจากธนาคารส่วนเงินสมทบเนื่องจากสมทบไม่ถึงตามจำนวนได้ขอเพิ่มเงินจาก อบต ผ่านสภาอนุมัติเรียบร้อย ตอนนี้อยู่ในขั้นตอนการทำฎีกาเพื่อสมทบ และได้ติดตามการบันทึกโครงการประเภทต่างๆ จำนวน 5 โครงการ และได้สอนผู้รับผิดชอบกองทุนในการบันทึกข้อมูล เป็นตัวอย่าง 1 โครงการ และการบันทึกเงินคืนจากโครงการเข้าในระบบ เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงาน
ประกอบด้วย
ติดตามการบันทึกข้อมูล tor ใบเบิกเงินในระบบ จำนวน 6 โครงการ และตรวจเอกสารในการขอโครงการ บันทึกข้อตกลง หลักฐานการรับเงิน จากกองทุน จำนวน 6 โครงการ และสอนการแก้ไขโครงการ การบันทึกการคืนเงิน ในระบบและได้แนะนำทิศทางการจัดทำแผนงานกองทุนปี 2561เพื่อให้สอดรับกับนโยบายกองทุน และปัญหาสุขภาพในพื้นที่
ประกอบด้วย
ติดตามการลงบันทึกข้อมุลออนไลน์การใช้จ่ายเงินการสนับสนุนงบประมาณร่วมหารือแนวทางการดำเนินงานกองทุนLTCในด้านการเบิกจ่ายการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ เพื่อให้สอดคล้องกับกองทุนสุขภาพตำบลเทสบาลนครหาดใหญ่ในการรับรองรายงาทางการเงินได้รับความร่วมมือจากทีมเจ้าหน้าที่เทสบาลนครหาดใหญ่เป็นอย่างดี
ประกอบด้วย
แนะนำการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรมออนไลนื ในเรื่องการบันทึกโครงการ จำนวน 7 โครงการ การทำบันทึกข้อตกลง 7 โครงการ การเบิกเงิน 7 โครงการ การลงรับ-จ่าย การเงิน การลบโครงการที่ไม่ได้ดำเนินหาร หรือขอยุติโครงการ การบันทึกข้อมูลของกองทุน การบันทึกข้อมุลประชากร และการแนบไฟล์ ได้รับการร่วมมือ จาก ผอ.กองสาธารณสุข เจ้าหน้ากองทุน พนักงานเทศบาลเป้นอย่างดี การเข่าร่วงกองทุน LTC
ประกอบด้วย
ติดตามการบันทึกโครงการ การบันทึกการเงิน การทำใบเบิกเงิน การสรุปผลการดำเนินงาน ในระบบออนไลน์ และแนวทางในการพิจารณาโครงการ และการจ้างเหมาพนักงาน มีผู้เข้าร่วมปรึกษา รองนายก ปลัดเทศบาล เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมุล หัวหน้าสำนักปลัด
ประกอบด้วย
ลงติดตามแนะนำแก่ผู้รับผิดชอบงานเจ้าเจ้าหน้าที่สำนักเลขานุการกองในเรื่อง 1.เร่งรัดและหารือการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนตำบล 2. เรื่องการเบิกจ่ายเงิน สนับสนุนแก่ผู้ขอรับงบประมารประเภทต่างๆๆ 3.การบันทึกกิจกรรมโครงการในโปรแกรมออนไลน์ 4.แนวทางการดำเนินงานกองทุนในปีงบประมาณ 2561 ทางผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจและมีแนวทางในการทำงานเพื่อขับเคลื่อนกองทุน ร้อยละ 90 จากการลงพื้นที่ ทางกองทุน หลักประกันสุขภาพเทสบาลนครหาดใหญ่ใช้จ่ายงบประมาณสนับสนุนพื้นที่ไปแล้ว ประมาณ4,500,000 บาท
ประกอบด้วย
ประชุมสรุปผลจากการติดตามพื้นที่กองทุนตำบลในแต่ละอำเภอในจังหวัดสงขลาปัญหาที่ต้องหาแนวทางการดำเนินงาน
1. พื้นที่ไม่ดำเนนินการบันทึกกิจกรรมในโปรแกรมออนไลน์
2 .ข้อมูลหน้าเวบไม่เป็นปัจจุบันผู้รับผิดชอบงานย้ายบ้อย
3.ช่องทางในการติดต่อประสานงาน
4 .ระเบียบหลักเกณฑ์ของสปสชไมาชัดเจน
5 กองคลังไม่รับผิดชอบการเงินกองทุน
6 ทางท้องถิ่มองว่าเป็นงานฝาก
7 .การดำเนินงานประสานงานระหว่างสปสชสธ ท้องถิ่นยังขาดการบูรณการ
8. กองทุนยังไม่มีแผนการดำเนินงาน
9. การดำเนินการเบิกจ่ายยังไม่ถูกต้อง
10ประชุมเรื่องแนวทางการบริหารจัดการงบโครงกาคทีมพี่เลี้ยง ในการดูแลกองทุนในจังหวัดสงขลา ดดยมีข้อสรุบการสนับสนุนทีมพี่เลี้ยงในการดูแลกองทุน แบ่งตามระยะทางและความยากง่ายของพื้นที่
1.พื้นที่ปกติ กองทุนละ 600บาท
2.พื้นที่เสี่ยงภัย และระยะเดินทางเกิดน 40 กม. กองทุนละ700 บาท
3.สำหรับการประชุมทีมพี่เลี้ยง9700บาท
4.ลงพื้นที่สนับสนุนกองทุน 78510บาท
5.ถอดบทเรียน จำนวน 3000บาท
6พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง จำนวน 2000บาท
6.ภาษีและหลักประกันทางสัญญาจำนวน 5790บาท
ในการสนับสนุนทีมพี่เลี้ยงในการติดตามกองทุนจัดสรรครั้งแรก 60%และจัดสรรตามผลงานอีก 40 % โดยดูผลการดำเนินกิจกรรมตามการบันทึกในโปรแกรม
และทีมพี่เลี้ยงได้ดำเนินการหารือแนวทาง และวิธีการแก้ไขเพื่อให้กำารดำเนินงานใช้จ่ายเงินกองทุนมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน
ประกอบด้วย

ร่วมประชุมอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการจำนวน 20 โครงการ
ผู้ขอรับงบประมาณ จากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 2 โครงการ
โรงเรียน จำนวน 2 โครงการ
รพสต. จำนวน 6โครงการ
ชมรม อสม. จำนวน4โครงการ
ภาคประชาชน ชมรมออกกำลังกายจำนวน 4 โครงการ
ผู้สูงอายุ จำนวน 2โครงการ
ได้พิจารณา อนุมัติงบประมาณ 800,000 บาท
โดยให้ปรับแก้ในส่วนของกิจกรรม และงบประมาณ และรพยพเวลาดำเนินกิจกรรม โดยให้ปรับแก้ส่งภายในวันที่ 7 กรกฎาคม 2560เพื่อนำเข้าคณะกรรมการบริหารพิจารณาต่อไป
ประกอบด้วย

ร่วมประชุมพิจารณาโครงการจำนวน 12 โครงการมีผู้ขอทั้งในส่วนของ
- โรงเรียนจำนวน 2 โครงการ
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1โครงการ
ภาคชุมชนจำนวน 3โครงการ
- รพสต. จำนวน6โครงการ
ซึ่งทางกรรมการ มีการปรับแก้ในส่วนของงบประมาณเพื่อให้ตรงวัตถุประสงค์ของกองทุน และปรับกิจกรรมเพื่อให้กิจกรรมดครงการมีการทำงานที่บูรณาการกันทุกภาคส่วน ที่ประชุม อนุมัติโครงการทุกโครงการ
ประกอบด้วย

ประชุมชี้แจง ผู้ขอรับงบประมารจากกองทุนสุขภาพตำบล ประกอบด้วยศูนย์พัมนาเด็กเล็ก ชมรม ผู้สูงอายุ อสม ศูนย์พั?นาคุณภาพชีวิต กองต่างๆๆของ อบต.พิจิตร คณะกรรมการบริหารกองทุน ในเรื่องระเบียบ หลักเกณฑ์ เทคนิคการเขียนโครงการ ช่วงบ่ายฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนโครงการ และแนะนำปรับแก้โครงการที่ขอรับงบประมารจากกองทุน ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 40 คน มีความรู้ความเข้า ร้อยละ 90
ประกอบด้วย
ผลผลิต
1. มีเลขานุการและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบล เขต อำเภอสะบ้าย้อยเข้าร่วมการนิเทศติดตามจำนวน 4 แห่ง จาก 10 แห่ง คือ
ทต.ท่าพระยา ทต.สะบ้าย้อย อบต.ธารคีรี และอบต.บาโหย ขาดการเข้าร่วมจำนวน 6 แห่ง
2. กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ท่าพระยา จะต้องให้พี่เลี้ยงลงสนับสนุนจัดกิจกรรมพัฒนาโครงการสำหรับผู้รับทุน
ทางพี่เลี้ยงประจำกองทุนสุขภาพตำบล แนะนำข้อมูลดังนี้
1. ข้อมูลสถานการณ์ทางการเงินของกองทุนสุขภาพ
ประกอบด้วย

ร่วมประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการซึ่งมีผู้ขอสนับสนุนงบประมาณดังนี้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก1 โครงการ
ภาคประชาชน /ชมรม 6โครงการ
รพ.สต 3 แห่งจำนวน 4โครงการ
โครงการประเภท 5 1โครงการ
ซึ่งได้อนุมัติในหลักการและนำไปปรับกิจกรรมให้ครอบคลุมและตรงวัตถุประสงค์มีผู้เข้าร่วมประชุมจากทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลาและผู้รับผิดชอบงาน สปสช เขต 12 ที่ปรึกษาจาก รพสะเดาและผู้ขอโครงการ
โดยงบประมาณที่ได้รับอนุมัติในครั้งนี้ประมาณ400,000 บาท
ประกอบด้วย

เข้าร่วมเวทีประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ การพิจารณาโครงการ จำนวน 3 โครงการ คือ โครงการคัดกรองตัดแว่นฯกลุ่มผู้สูงอายุ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกของ รพสต. และโครงการส่งเสริมสุขภาพอาหารเด็กในโรงเรียนฯ
ประกอบด้วย

1การหนุนเสริมทำความเข้าใจระเบียบที่เกี่ยวข้องของ สปสช. ในการดำเนินงานของกองทุนได้ถูกต้อง การเบิกจ่ายตามระเบียบกองทุน เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาการใช้จ่ายในการดำเนินงานโครงการที่ไม่ถูกต้อง ที่อาจสุ่มเสี่ยงต่อการเข้ามาของ สตง.
2 การทำความเข้าใจการใช้ระบบเวปไซด์ ของทุนสุขภาพตำบลฯสำหรับฝ่ายคีย์ข้อมูลโครงการ
3 การพัฒนาโครงการ โดยใช้เวทีประชุมคณะกรรมการกองทุน ขับเคลื่อนให้หน่วยงาน กลุ่ม ชมรม เช่น รพสต. อสม. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก การรวมตัวกันของกลุ่มคน หรือชมรมเป็นต้น ได้เสนอโครงการเข้ามา เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ซึ่งโครงการแรกที่ทุกกองทุนต้องดำเนินการเป็นอันดับแรก คือ โครงการบริหารจัดการกองทุนฯ งบ 7( 4 )
ประกอบด้วย

ทีมพี่เลี้ยง ร่ามพิจารณาโครงการ จำวน 23 โครงการ ภาคประชาชน จำนวน 14 โครงการ ผ่านการอนุมัติทุกโครงการ ของ รพสต.นาหม่อม จำนวน 9 โครงการ ขอไม่ขอรับงบประมาณในการดำเนินงาน ได้ชี้แจงแบบขอโครงการ และรูปแบบการดำเนินงานกองทุนโดยใช้โปรแกรม ออนไลน์ ผู้เข้าร่วมนำเสนอโครงการเข้าใจหลักเกณฑ์การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุน คณะกรรมการบริหารกองทุนมีความมั่นใจในการพิจารณาโครงการ ร้อยละ 95
ประกอบด้วย
- คณะกรรมการกองทุน รู้และเข้าใจแนวทางการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการบริหารจัดการกองทุน
- คณะกรรมการกองทุน ตัวแทนหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุม และผู้เข้าร่วมประชุม รู้และเข้าใจแนวทางในการเขียนและเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน
- ที่ประชุมได้รับข้อเสนอแนะในการพิจารณาอนุมัติโครงการของกองทุนจากพี่เลี้ยง ทำให้การกลั่นกรองและพิจารณาโครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประกอบด้วย

1.ช่วงเช้าเวลา 08.30 -12.30 น. มีคณะกรรมการบริหารกองทุน เข้าร่วม อบรม จำนวน 10 ท่านอนุกรรมการกองทุน 7 ท่าน ผอ. กองคลังผอ.กองศ฿กษา ตัวแทนโรงเรียนศูนย์บริการสาธารณสุขรพสต.และตัวแทนชมรม จำนวน 8 ท่านซึ่งได้พูดถึงทิศทางและแนวทางการดำเนินงานกองทุนตำบลระเบียบหลักเกณฑ์ระเบียบการเบิกจ่าย งบประมาณการพิจารณากลั่นกรองโครงการ 2. ช่วงบ่ายเวลา 13.00 น. 17.00 น. แนะนำการเขียนและปรับแก้โครงการ ของโรงเรียน แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ การทำหน้าฎีกาเบิกจ่ายการลงบันทึกโครงการการบันทึกการัรบ - จ่ายเงิน ในระบบออนไลน์แก่เจ้าหน้าที่สำนักงานเลขานุการกองทุน และให้เขียนโครงการงบบริหารจัดการโครงการประเภท 4และวางแผนการจัดทำแผนกองทุนในปี 2561 จำนวน 4ท่าน ซึ้งจากผลการประเมินผู้เข้ารับการอบบรม มีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 90
ประกอบด้วย

1 การเข้าร่วมหนุนเสริมให้ความรู้การพัฒนาโครงการ ให้กับหน่วยงาน กลุ่ม ชมรมในชุมชน ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนประเด็นข้อสงสัย เกี่ยวกับการเขียนเสนอโครงการฯ โดยมีหน่วยงาน กลุ่ม ที่สนใจ จำนวน 3กลุ่ม คือ รพสต. กลุ่มผู้สูงอายุ และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 การหนุนเสริมความรู้การดำเนินงานโครงการ ผ่านระบบเวปไซด์กองทุนสุขภาพตำบลฯ ให้กับเจ้าหน้าที่นักพัฒนาชุมชน จำนวน 1 คน ที่ดูแลรับผิดชอบ
ประกอบด้วย

ตัวแทนกองทุนตำบลเข้าร่วมประชุมชี้แจง จำนวน 17 ท่านทต บางเหรียง จำนวน 12ท่านประกอบด้วยกองคลัง พัสดุฝ่ายแผนงานปลัดเทศบาล ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
ทต ควนเนียง จำนวน3ท่านประกองด้วยปลัดเทศบาล พยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่ันทึกข้อมูล
อบต ท่าชะมวงจำนวน 1ท่าน
ทม กำแพงเพชร จำนวน 1 ท่าน
1. กิจกรรมแรก รายงานสถานการณ์การจ่ายเงินของกองทุนในจังหวัดสงขลา และผลการดำเนินงานในภาพอำเภอ และราย กองทุน
2. ปัญหาที่ทีมพี่เลี้ยง เจอในการติดตามกองทุน
3. ผู้รับผิดชอบในการดูแลแต่ละกองทุน ในแต่ละอำเภอ และบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
4. อบรมการใช้โปรแกรมการบันทึกออนไลน์
5. ตอบข้อซักถามและอภิปรายซึ่ง ผู้เข้าร่วม มีความเข้าใจในการดำเนินงาน ร้อยละ 80
ประกอบด้วย

ร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนในการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
1. สถานบริการสาธารณสุข 5 โครงการ
2. ชุมชนชมรมจำนวน 6โครงการ
2. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จำนวน 2 โครงการ
ซึงโครงการได้ผ่านการเห็นชอบและให้มีการกลับไปเพิ่มเติมรายละเอียดในส่วนกิจกรรมและงบประมาณให้แยกเป็นรายกิจกรรม พร้อมทั้งแนะแนวการกลั่นกรองโครงการ และการใช้งบประมาณไม่ให้ซ้ำซ้อน กับงบปกติ
ประกอบด้วย

อบรมคณะกรรมการบริหารกองทุน
1.เรื่องระเบียบ หลักเกณฑ์ การรับ -จ่าย เงิน กองทุน ทิศทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2560 และแนวนโยบายการดำเนินงานในปี 2561
2.หลักการพิจารณาโครงการ การติดตามประเมินผลตอบข้อซักถามช่วงบ่ายเป็นการ แนะนำการเขียนฌครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์กองทุน
3.หลักการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ
มี คณะกรรมการบริหารกองทุน ตัวแทน ชมรม อสม ผโรงเรียน ครู รพสต.และตัวแทนจาก สสอและ รพพชเข้าร่วมโครงการ ซึ่ง ผู้เข้าอรม รับ ทราบ เข้าใจ ถึงการเพนินงานกองทุน ดีมาก ร้อยละ 90
ประกอบด้วย

1 ทำความเข้าระเบียบของสปสช. ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่อำเภอสิงหนคร จำนวน 8 กองทุน
2 หนุนเสริมความรู้ด้านการดำเนินงาน เสนอ รายงาน โครงการ ผ่านระบบเวปไซด์กองทุนสุขภาพตำบลฯ ให้กับเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนละ 1-2 คน
ประกอบด้วย

มีกองทุนสุขภาพตำบล เข้าร่วมประขุม
ประกอบด้วย1. อบต ทุ่งพอจำนวน 2ท่าน
2.อบต.บาโหย จำนวน 1ท่าน
3.อบต.ธารคีรีจำนวน 3ท่าน
4.เทศบาลตำบลสะบ้าย้อย จำนวน 3ท่าน
กองทุนเข้า ใจบทบาทหน้าที่ตรเอง รู้หลัก ระเบียบการเบิกจ่ายเงิน และการบันทึกโปรแกรมออนไลน์
ประกอบด้วย

ผลผลิต
1. มีการทำความเข้าใจเรื่องของการบันทึกข้อมูลการได้รับเงินสนับสนุนจากสป.สช. และสมทบจากท้องถิ่น ลงในเวปไซด์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้
2. การให้เลขาฯกองทุนและฝ่ายคีย์ข้อมูลกองทุน ได้แลกเปลี่ยนซักถามปัญหาต่างๆ ที่ต้องการคำเสนอแนะปรับปรุงให้โครงการได้ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
3. การทำความเข้าใจถึงข้อมูลรายละเอีดย รวมถึงระเบียยการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินโครงการให้ถูกต้องตามระเบียบของสป.สช
ผลลัพธ์
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอระโนดจำนวน 9 องค์การ ผู้เข้าร่วมจำนวน 20 คน เกิดความเข้าใจเนื้อหาสาระ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนได้เพิ่มขึ้น
2. มีการเพิ่มกิจกรรมโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ 7(4) กับกองทุนที่เข้าร่วมเวที และมีการร่วมพัฒนาโครงการที่ทางพื้นที่หน่วยงานได้เสนอมาเพื่อเกิดการปรับปรุงให้เนื้อหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับระเบียน สป.สช.
3. มีการวางแผนประชุมคณะทำงานฯ ปีละ 4 ครั้งในทุกๆกองทุนที่เข้าร่วมเวที
ประกอบด้วย

ร่าวมประชุม ชี้แจงการดำเนินงาน LTC การพิจารณาโครงการ LTC การเบิกจ่ายงบประมาณ ปรับปรุงแก้ไขดครงการ แล้วเสร็จ กรรมการอนุมัติ การเำเนินงานการอบรม CG
ประกอบด้วย

วิทยากร บรรยายระเบียบกองทุน การพิจารณาโครงการ การบันทึกการรับ - จ่าย เงิน การเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับงบประมาณแต่ละประเภท การบันทึกโปรแกรมออนไลน์
ประกอบด้วย
ติดต่อประสานงานเร่งการสมทบเงินเข้ากองทุนตำบล อบต.นาหม่อม เทสบาลตำบลดโกม่วง อยู้ระหว่างการดพเนินการจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงินสมทบ
ประกอบด้วย

แนะนำให้มีการปรับเนื้อหา เพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์กองทุน และลดความซ้ำซ้อนของงบประมาณ และ ตอบโจทย์และปัญหาในพื้นที่ จำนวน 21 โครงการ โดยได้เสนอแนะและปรับและส่งข้อมูลให้ทางไลน์
ประกอบด้วย
- คณะกรรมการกองทุนได้รับข้อเสนอแนะในการกลั่นกรองและพิจารณาอนุมัติโครงการ ทำให้การพิจารณาอนุมัติโครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. คณะกรรมการกองทุนทราบแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้
- พี่เลี้ยงได้ให้ข้อเสนอแนะ และตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับโครงการที่ใช้งบประมาณจำนวนมาก และอาจไม่สอดคล้องกับภารกิจของกองทุน เช่น โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยการซื้อโลชั่นกันยุงแจกแก่ประชาชน
ประกอบด้วย

1.เจ้าหน้าที่ๆเกี่ยวข้องในการบันทึกรายงานการดำเนินงานผ่านระบบเวปไซด์กองทุนสุขภาพตำบลฯกองทุนละ 1-2 คน ที่จะได้ช่วยกันทำงานผลัดเปลี่ยนกันกรณีคนใดคนหนึ่งติดภารกิจ การเข้าร่วมประชุมกับสปสช. หรือประชุมคณะกรรมการกองทุนนั้นๆ
2. กองทุนเข้าร่วมจำนวน 8 กองทุน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระเบียบ สปสช.การดำเนินงานโครงการ การใช้จ่ายที่ถูกต้องตามระเบียบ และป้องกันการใช้จ่ายที่ไม่ถูกต้อง อาจสุ่มเสี่ยงที่จะถูกเรียกเงินคืน จาก สตง.
ประกอบด้วย

ให้ความรู้คณะกรรมการบริหารกองทุนจำนวน 20 ท่าน ในเรื่องระเบียบหลักเกณฑ์การรับ-จ่ายเงิน การพิจารณาโครงการ ในแต่ละประเภทที่ขอรับงบสนับสนุนแหล่งทีมาของงบประมาณที่กองทุนสุขภาพตำบลได้รับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการผลการประชุมคณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจ และได้ พิจารณาโครงการ 1 โครงการ ได้แนะนำเสนอนแนะที่ประชุมมีมติให้ไปปรับแก้ในรายละเอียดของดครงการและงบประมาณ
ประกอบด้วย
ประสานงานผู้รับผิดชอบงานลา ได้ฝากทางกองสาธารณสุขในการติดตามให้เร่งการสมทบเงินเข้ากองทุนตำบลโดยนัดให้สมทบภายในเดือน พค 2560
ติดตามประสานผู้รับผิดชอบ แล้ว ให้เร่งการเบิกจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตำบล โดยจะตามอีกครั้งในวันที่ 15 พค 2560
ประกอบด้วย
ดำเนินการทำฎีกาเบิกจ่ายเรียบร้อย ให้นำเข้าบัญชีกองทุนและคีย์ข้อมูลในโปรแกรม
ประกอบด้วย
ประสานผู้รับผิดชอบอยู่ระหว่างการทำบันทึกเพื่อให้อบต ดำเนินการสมทบเงินเข้ากองทุนตำบล ซึ่งจะตามอีกครั้งในวันที่15 พค 2560
ประกอบด้วย
ติดตามประสานงาน อยู่ระหว่างทำฎีกา เบิกจ่ายเงินสมทบ
ประกอบด้วย
ดำเนินการประสาน ผู้รับผิดชอบงาน อยู่ในระหว่างการทำฎีกา เบิกจ่ายเงินสมทบ
ประกอบด้วย

ประสานงานการสมทบเงิน อยู่ระหว่างทำฎีกาเบิกเงินสมทบ ซึ่งที่ติดตาม จะดำเนินการแล้วเสร็จ ภายใน 15 พค 2560
ประกอบด้วย
แนะนำ โครงการที่ต้องปรับเพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุน และความซ้ำซ้อนของงบประมาณ ที่หน่วยบริการของบประมาณ จำนวน 6 โครงการ ซึ่งดำเนินการปรับในส่วนของงบประมาณที่มีความซ้ำซ้อน และที่เป็นภารกิจของ รพสต
ประกอบด้วย

แนะนำการบันทึก โครงการในโปรแกรม การบันทึกการทำรายงานการเงิน การรับและเบิกจ่ายเงิน ของผู้ขอสนับสนุนงบแต่ละประเภท การพิจารณาโครงการ การใช้งบประมาณ มีผู้เข้าร่วม ผู้รับผิดชอบงานกองทุน เจ้าหน้าที่การเงิน ผู้รับผิดชอบในการบันทึกโปรแกรม ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจ เพิ่มขึ้น เป็นที่พอใจ ของทั้ง 2 ฝ่าย
ประกอบด้วย
จ่ายค่าอากรแสตมปืในการทำสัญญากับ สปสช เขต 12 สงขลา
ประกอบด้วย
ทำสัญญาและจ่ายค่าหลักประกันจำนวน 4950บาทพร้อมอากรแสตมป์ 100บาท
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถ ใช้โปรแกรมกองทุนตำบลภาคใต้มีความเข้าใจในระเบียบหลักเกณฑ์กองทุน สปสชมีผู้เข้าร่วมประชุม 20คน 1. เทศบาลตำบลพะวง1 ท่าน 2.เทศบาลนครหาดใหญ่2ท่าน 3.เทศบาลเมืองควนลัง 2ท่าน 4.เทสบาลเมืองคลองแห 2 ท่าน 5. เทศบาลตำบลพะตงจำนวน1 ท่าน 6.เทสบาลตำบลทุ่งตำเสา จำนวน2ท่าน 7.เทศบาลตำบลคูเต่า2ท่าน 8.เทศบาลคลองอู้ตะเภาจำนวน2ท่าน
ประกอบด้วย

มีการอนุมัติดโครงการแต่ไม่มีการบันทึกในโปรแกรมออนไลน์ ทำให้ไม่ทราบความก้าวหน้าในการใช้จ่าย ได้มีการสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ ผู้เข้าร่วมเข้าใจร้อย 90 ทีมสาธารณสุขอำเภอ และ รพสต. จะเป้นพี่เลี้ยงทางด้านสาธารณสุขให้ในพื้นที่ ร่วมกับทัมพี่เลี้ยง สปสช เขต 12 สงขลา ภาคีเครือช่ายเข้มแข็ง ทั้งทางด้านสาธารณสุช ท้องถิ่น มี ปลัดเทศบาลเข้าร่วมการประชุม และสนใจในการดำเนินการของบประมาณ
ประกอบด้วย

กองทุนมีการใช้งานโปรแกรมน้อยมาก เนื่องจากผู้รับผิดชอบย้ายมีการอนุมัติโครงการแต่ทำงานระบบเดิม ไม่ได้บันทึกผ่านโปรแกรม ได้มีการแนะนำและสอนการใช้โปรแกรมผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจร้อยละ 90 มีการสงสัยขอบเขตในการขอสนับสนุนงบประมาณของ รพสต. กลัวการซ้ำซ้อนของงบประมาณ และการเบิกจ่ายมีการตั้งไลน์กลุ้มกองทุนอำเภอจะนะ เพื่อสะดวกในการแจ้งข่าวสาร
ประกอบด้วย

แนะนำการบันทึกโปรแกรมออนไลน์ มีการใช้โปรแกรมในการดำเนินงานประมาณ ร้อยละ 20 ส่วนใหญ่ทำงานแบบระบบเดิม การรับทราบข่าวสารไม่ได้รับเนื่องจากไม่ได้ใช้โปรแกรมมีการอนุมัติโครงการแล้วแต่ไม่มีการบันทึก ทำให้ไม่ทราบวามก้าวหน้าในการจ่ายเงินโครงการประเภท 4 ไม่ได้มีการบันทึกในระบบ ได้ แนะนำและสอนการใช้โปรแกรม การเขียนโครงการตามแบบฟอรืมใหม่ผู้เข้าร่วมประชุม เข้าใจร้อยละ 90 มีก่ีตั้งกลุ่มไลน์กองทุนอำเภอนาทวีเพื่อสะดวกในการแจ้งข่าวส่าร
ประกอบด้วย

มีการเช้าใจในระบบการการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมออนไลน์ มากขึ้น กองทุนร้อยละ80 อนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้วแต่ไม่ได้บันทึกในระบบ ดำเนินการแบบเดิม โดยไม่ได้บันทึกในระบบ ได้แนะนำให้บันทึกเพื่อได้ทราบความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม แกละการใช้จ่าบงบประมาณ
ประกอบด้วย

1.คณะกรรมการกองทุน ทต.เชิงแส มีความรู้เรื่องระเบียบการบริหารกองทุนฯ
2.เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลในเขต อำเภอกระแสสินธุ์มีความรู้เรื่อง การใช้โปรแกรมบริหารกองทุนตำบล
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเขียนดครงการ และทราบวัตถุประสงคืของกองทุน และกิจกรรมที่แต่ละประเภทสามารถขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนได้ ผู้เข้าประชุม มีตัวแทนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชมรมต่างๆๆ ผู้สูงอายุ กรรมการชุมชน สมาชิก อบต อสม. ชมรมออกกำลังกาย รพสต.
ประกอบด้วย

ประชุมแบ่งพื้นที่ให้ทุกกองทุนมีผู้รับผิดชอบในการบันทึกและติดตาม
มีการหารือแนวทางการดำเนินงาน ของทีมพี่เลี้ยง จัดทำแผนการลงติดตามพื้นที่ ตามอำเภอ และนำปัญหาและข้อเสนอแนะมาปรับรูบแบบในการดำเนินงาน มีการกำหนดพี่เลี้ยงครบทุกกองทุน และให้พี่เลี้ยงมีการติดตามและแนะนำ บันทึกผ่านรับบออนไลน์
ประกอบด้วย
ทีม ส่านท้องถิ่นและภาคประชาชนสปสชเข้าร่วมประชุม มีผู้ลาออกจากการเป้นทีมพี่เลี้ยงเนื่องจากมีภารกิจ จำนวน 2 ท่าน

ชี้แจงนดยบายการดำเนินงานวัตถุประสงค์กองทุนระเบียบการเงินและการชี้แนะโครงการที่เข้าร่วมพิจารณา
ร่วมชี้แจงแนวทางขอโครงการ ร่วมให้คำปรึกษาโครงการ จำนวน 3 โครงการ ผ่านการอนุมัติ จำนวน 3 โครงการ การพิจารณาความซ้ำซ้อนของงบประมาณ
ประกอบด้วย
ชมรมผู้สูงอายุ รพสต กลุ่มองค์กรภาคประชาชน ชมรมออกกำลังกาย กรรมการกองทุน

ชี้แจงแนวทางการขอดครงการวัตถุประสงค์ของกองทุนระเบียบทางการเงิน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถเข้าใจ ว่ากลุ่มหรือชมรม สามารถของบประเภทใหนได้ หรือไม่ได้ สถานบริการสาธารณสุข ของบเพื่อไม่ให้ซ้ำศ้อนกับงบปกติ การสรุบผลการดำเนินงานและหลักฐานในการหักล้างค่าใช้จ่ายตามกิจกรรม
ประกอบด้วย
ชมรมออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ อสม ผู้พิการ รพสต กรรมการกองทุนกองต่างๆๆในเทสบาลองค์ภาคประชาชน โรงเรียนศูนย์เด็กเล็ก
ร่วมพิจารณาชี้แนะ โครงการที่เข้าพิจารณา และแนะแนวทางการขอรับงบสนับสนุน
ชี้แจงแนวทางการพิจารณาโครงการ รูปแบบการเขียนโครงการ โครงการที่สามารถขอรับงบสนับสนุนได้ ระเบียบ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2560
ประกอบด้วย
กรรมการบริหารกองทุนผู้ขอรับงบประมาณ รพสตครูจำนวน 30 คน

มีผู้เข้าร่วม 90% มีผู้รับผิดชอบกองทุนแต่ละโซน และรับผิดชอบในการดูโึครงการ

ประชุมทีม ร่วมกับ สจรส เพื่อ เป็นวิทยากรกลุ่ม ในการเขียนโครงการขอรับงบประมารจากกองทุน สปสชเกี่ยวกับการแก้ปัญภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพ ในศุนยพัฒาเด็กเล็กดดยแบ่งผู้รับผิดชอบในการทำกระบวนการ เป็นโซน ซึ่งมีจำนวน 2ซึ่งคณะกรรมการ เข้าร่วมและแบ่งพื้นที่ในการแนะนำ เรียบร้อย
ประกอบด้วย

ฝึกเขียนดโรงการแยกตามประเภท
กรรมการบริหารกองทุนเทศบาลตำบลปริก เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักนภาพ จำนวน 60 คน ซึ่งคณะกรรมการเข้ากระบวนการ พิจารณาโครงการ เข้าใจระเบียบและบทบาทหน้าที่และ จุดประสงค์ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ85 แกนนำชุมชนชมรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนฝึกปฏิบัติ เขียนแผนงานโครงการขอรับงบสนับสนุนจากกองทุนเทศบาลตำบลปริกโดยแยกเป็นกลุ่ม ชมรม ต่างๆๆ อสม กลุ่มศูนย์เด็ก โรงเรียน ศูนย์ผู้สูงอายุ ซึ่งได้โครงการประเภท 2 จำนวน 5 โครงการกลุ่มประเภม3 จำนวน 3 โครงการและใหเนำหลับไปแก้ไขเพิ่มเติม อีก 5โครงการ ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจมาก เพราะได้เขียน และแก้ไข จาได้โครงการที่ของบกองทุนได้ซึ่ง เป็นโครงการที่มีในแผนกองทุนอยู่แล้ว
ประกอบด้วย
กรรมการ อนุกรรมการ อสม กรรมการชุมชน ชมรมผู้สุงอายุ โรงเรียน ศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก

แนะนำแนวทางการของบประมาร วัตถุประสงค์กองทุนดครงการที่สามารถขอรับงบสนับสนุนได้
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทสบาลตำบลทุ่งลาน เข้าใจระเบียบและ โครงการที่สามารถสนับสนุนให้ผู้ขอแตะละประเภทในระดับที่พอใจ ผู้ขอโครงการเข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน สปสช ในการสนับสนุนงบประม าณให้ดำเนินกิจกรรม และการเขียนโครงการการขอรับงบประมาณ เพิ่มขึ้นใน สำหรับโครงการเข้าร่วมพิจารนา7 โครงการ ปรับแก้ในส่วนกิจกรรม 1 โครงการเพราะให้ตรวจสอบความซำซ้อของบประมาน โครงการผ่านการพิจารณา4 โครงการ ปรับเพิ่มงบประมาณ 1โครงการนำไปปรับปรุงนำพิจารรารอบต่อไป1โครงการ
ประกอบด้วย
กรรมการกองทุนรพสตผู้ขอโครงการคณะทำงานวิทยากรทีมพี่เลี้ยง

เริ่มประชุม 18.00 น.
-พี่เลี้ยงทำโครงสร้างองค์กรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง
-มีการตรวทาน TOR จากส่วนกลาง
*****พี่เลี้ยงสงขลาขอเสนอ เปลี่ยนแปลงTOR
จากข้อกําหนดขอบเขตของงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (Terms of Reference : TOR) การซื้อ/จ้างทําของเพื่อเสริมพลังกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จากข้อ 4.2.3.4 พี่เลี้ยงต้องสนับสนุนให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่สามารถใช้เงินกองทุนฯดําเนิน โครงการจนเงินคงเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินทั้งหมดกองทุน ฯ
เป็น พี่เลี้ยงต้องสนับสนุนให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่สงขลาสามารถใช้เงินกองทุนฯดําเนิน โครงการจนเงินคงเหลือไม่เกินร้อยละ 25 ของปี 2560
จากข้อ4.3.1.1 จัดตั้งทีมพี่เลี้ยงของแต่ละจังหวัด ลงข้อมูลพื้นฐานพี่เลี้ยง แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบโดยการ จับคู่กองทุนสุขภาพตําบลฯ-พี่เลี้ยง
เป็น จัดตั้งทีมพี่เลี้ยงของแต่ละจังหวัด ลงข้อมูลพื้นฐานพี่เลี้ยง แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบโดยมีพี่เลี้ยงดูแลทุกกองทุน
- ได้โครงสร้างองค์กรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง
- มีการวางแผนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลพืนที่ เขต 12 จ. สงขลา 9 คน
ชี้แจงการลงบันทึกในโปรแกรมกองทุนตำบลภาคใต้ ในเรื่อง 1.การสมัครสมาชิกการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวข้อมูลกรรมการกองทุนประชากร 2. การลงบันทึกโครงการแต่ละประเภทและรายละเอียดของโครงการ การอับโหลดไฟล์ 3.การลงการรับ- จ่ายเงิน ในโปรแกรม 4.ติดตามเรื่องแผนสุขภาพของกองทุนโครงการประเภท 4และประเภท 5และการสมทบเงิน 5.การเตรียมการอบรมพัฒนาศักยภาพกรรการกองทุนโดยจะดำเนินการเดือน กุมภาพันธ 2560 จากการฝึกปฏิบัติ ทีมมีความเข้าใจ และสามารถคีย์ได้ในระดับหนึ่ง เนื่องจากในส่วนรายงานบางอย่างระบบยังไม่เรียบร้อย
จากการฝึกปฏิบัติ ทีมมีความเข้าใจและสามารถคีย์ได้ในระดับที่ดี เนื่องจากในส่วนรายงานบางอย่างระบบยังไม่เรียบร้อย การสมทบเงินเพิ่มเนื่องจากยอดจัดสรรเพิ่มทำให้ไม่ถึงเกณฑ์ปลัดเทสบาลได้นำเรื่องเข้าที่ประชุมและจะโดอนงบเพิ่มเพื่อให้ถึงตามเกณฑ์ ทำแผนพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนในต้นเดือน กพ.2560ผู้เเข้าร่าม ประกอบด้วย เลขานุการกองทุนผู้ช่วยเลขานุการกองทุนผู้รับผิดชอบการบันทึกในโปรแกรม และน้อองพนักงานจ้าง อีก1ท่านเนื่องจากไม่ได้รับหนังสือเข้าร่วมอบรมที่ มอ
ประกอบด้วย
- ผู้ช่วยเลขานุการกองทุน
- เลขานุการกองทุน
- ผู้รับผิดชอบในการคีย์โปรแกรมกองทุนตำบลภาคใต้
คุณสมชาย ละอองพันธุ์ ได้อธิบายการดำเนินงานกองทุนแก่คณะทำงานกองทุน เช่น ระเบียบกองทุน การจัดทำโครงการและการใช้เว้ปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลในการค้นหาข้อมูล ทำให้คณะทำงานกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล
คณะทำงานกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล
ประกอบด้วย
- คณะกรรมการกองทุน
- พี่เลี้ยงติดตามกองทุน