กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากจังหวัดยะลาแจ้งการดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ตามแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย “จังหวัดสะอาด” ภายใต้หลักการ 3Rs และหลักการ “ประชารัฐ” โดยให้ขยายผลการดำเนินงานตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้าน/ชุมชุน โดยมีเป้าหมายเพื่อลดขยะมูลฝอยชุมชนที่สู่ระบบการกำจัดที่ปลายทางลดลงร้อยละ 5 ประกอบกับแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ”
ตามแนวทางประชารัฐ” ระยะเวลา 1 ปี (พ.ศ. 2559-2560)ตำบลกาบัง อำเภอกาบังจังหวัดยะลาในปัจจุบันมีอัตราการเพิ่มของปริมาณขยะจากครัวเรือนและการบริโภคอย่างมากขึ้นสาเหตุหลักเกิดจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรซึ่งจะเห็นว่าขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติตามจำนวนประชากรเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิตแบบอุตสาหกรรมวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารมีความสำคัญและจำเป็นทำให้มีวัสดุประเภทพลาสติกเกิดขึ้นมากมายและมีความหลากหลายอยู่ทั่วไปในท้องตลาดถุงพลาสติกทำให้เกิดความสะดวกมากขึ้นทั้งต่อผู้ขายและ ผู้ซื้อ โดยเน้นบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามลูกค้าเมื่อมาจับจ่ายใช้สอยก็จะนำของที่ซื้อกลับบ้านซึ่งไม่ได้มีแค่ตัวผลิตภัณฑ์เท่านั้นหากยังพ่วงเอาขยะกลับบ้านอีกเป็นจำนวนมากดังนั้นการเปลี่ยนแปลงผู้ประกอบการและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคมีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบของขยะในปัจจุบันจะสามารถแบ่งตามองค์ประกอบหลักได้4ส่วนคือขยะอินทรีย์ร้อยละ46ขยะรีไซเคิลร้อยละ42ขยะทั่วไปร้อยละ9ขยะอันตรายร้อยละ3 ปัจจัยดังกล่าวข้างต้นทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะและโรคที่เกิดจากขยะยากที่จะควบคุมได้แม้แต่ท้องถิ่นก็ไม่สามารถทำอะไรได้เว้นแต่ประชาชนผู้บริโภคจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากปัญหาดังกล่าวข้างต้นโดยชมรม อสม.ตำบลกาบัง บูรณาการร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกาบัง เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอกาบัง แกนนำสุขภาพตำบลกาบัง แกนนำชุมชน และประชาชนตำบลกาบัง อบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกของประชาชนในเขตพื้นที่ชมรม อสม.ตำบลกาบัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาขยะพร้อมเรียนรู้ร่วมกันมีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ไขปัญหาขยะเพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนภายใต้กิจกรรมหลัก3Rsและไม่ให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ตำบลกาบังในอนาคต ดังนั้น ชมรม อสม.ตำบลกาบัง ร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบล กาบัง จึงได้จัดทำโครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ห่างไกลโรค ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนภายใต้กิจกรรมหลัก3Rs และหลักการมีสวนร่วมทุกภาคีเครือข่าย และลดปัญหาการเกิดโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่มีความสำคัญที่จะทำให้เกิดจิตสำนึกในการลดปริมาณขยะในพื้นที่ ชมรม อสม.ตำบลกาบังจึงได้ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาบัง เพื่อจัดโครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ห่างไกลโรค ประจำปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
  2. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน
  4. เพื่อเกิดธนาคารขยะในโรงเรียนพื้นที่ตำบลกาบัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs และสาธิตการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ และการทำน้ำหมักจุลินทรีย์
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  3. กิจกรรม Big Cleanning Day

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการการคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด 2.ปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนลดลง และลดภาวะโลกร้อน
    1. ประชาชนในพื้นที่ตำบลกาบัง คัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด และการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs และสาธิตการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ และการทำน้ำหมักจุลินทรีย์

วันที่ 8 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและการพัฒนาศักยภาพ เพื่อวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนา ๒. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและจัดทำแผนการดำเนินงาน
3. ประสานงานและติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ประชาสัมพันธ์โครงการ
5. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ทุกภาคสวนและภาคีเครือข่าย
6. เตรียมเอกสาร วัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการอบรมให้ความรู้แนวทางการคัดแยกขยะในครัวเรือน และขยะมีผลต่อสุขภาพอย่างไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน เพื่อนำขยะเปียกในครัวเรือนมาทำเป็นปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยอินทรี ผลลัพธ์ ประชาชนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ
80.00 100.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน
60.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนลดการเกิดโรคจากขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
80.00 100.00

 

4 เพื่อเกิดธนาคารขยะในโรงเรียนพื้นที่ตำบลกาบัง
ตัวชี้วัด : เกิดธนาคารขยะในโรงเรียนพื้นที่ตำบลกาบัง
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน (4) เพื่อเกิดธนาคารขยะในโรงเรียนพื้นที่ตำบลกาบัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs และสาธิตการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ และการทำน้ำหมักจุลินทรีย์ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (3) กิจกรรม Big Cleanning Day

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างกาบัง ปลอดขยะ ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด