กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่
รหัสโครงการ 61-L5202-7(2)-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นางถ่อง รักนวล,นางสุวรรณา สุวรรณพรรค,นางรวยริน โทบุรี,นางอาภรณ์ นวนติ้ง,นางเพ็ญสิน กล่อมจันทร์
วันที่อนุมัติ 19 กุมภาพันธ์ 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ คนรักสุขภาพบ้านทุ่งเปรียงปลอดบุหรี่
พี่เลี้ยงโครงการ กองทุน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.483,100.643place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 13 มี.ค. 2561 30 ก.ย. 2561 13,400.00
รวมงบประมาณ 13,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 21 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 24 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรงโดยฌฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรีเป็นอันตรายต่อสุขภาพภายในครัวเรือน และชุมชนอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบ่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน 11.4 ล้านคน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคนอยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6 และกลุ่มอายุ15-24 ปี ร้อยละ 14.7 ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และเป็นผู้หญิงร้อยละ 2.2 โดยสูบบุหรี่จากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 4.3 ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่มวนเอง 4.2 ล้านคน และทั้งบุหรี่โรงงาน/บุหรี่มวนเอง 1.9 ล้านคน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้พื้นที่หมู่ที่ 4 ตระหนักถึพิษภัยและผลกระทบจากการสูบบุหรี

 

80.00
2 2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี

 

0.00
3 3. เพื่อสร้างความจูงใจในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมให้ความรู้พิษภัยการสูบบุหรี่และมารยาทต่างๆในการสูบบุหรี่
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ
  3. ดำเนินการจ้างวิทยากรให้ความรู้ถึงผลกระทบในการสูบบุหรี่
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ตัวแทนครอบครัว เยาวชน และผู้สูบบุหรี่ในชุมชน หมู่บ้าน ตระหนักถึงโทษภัยในการสูบบุหรี่
  • ประชาชนในหมู่บ้านทุ่งเปรียงมีสุขภาพแข็งแรง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเนื่องจากการสูบบุหรีา
  • เกิดความรักและสามัคคีในชุมชน หมู่บ้าน ร่วมกันรณรงค์ป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรีในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2561 15:29 น.