กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง


“ โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร ”

ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายจำรูญ ทองสลับล้วน

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5209-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5209-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,576.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุทางถนนช่วงปีใหม่และสงกรานต์ทำให้คนไทยเสียชีวิตและบาดเจ็บ รวมทั้งปีมีอัตราที่สูงกว่าประเทศอื่นๆ (เทียบกับสัดส่วนประชากรของประเทศ)อย่างเด่นชัด สาเหตุส่วนใหญ่มาจากความเมา และความง่วง, ความเหนื่อย ของผู้ขับรถ และรัฐบาลมักมุ่งรณรงค์ เช่น จำกัดการขายเหล้า มีตำรวจคอยตรวจจับปริมาณแอลกอฮอล์ แต่ได้ผลไม่มากนัก เพราะการที่มีรถแล่นกันขวักไขว่ในช่วงเทศกาลสำคัญ ทำให้มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้จาก หลายสาเหตุ รวมทั้งจากสภาพถนน และสัญญาณตามทางโค้ง ทางแยก ในหลายท้องที่ก็เป็นปัญหาด้วยเช่นกัน สถิติอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2560 มีจำนวนอุบัติเหตุผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา สำหรับสาเหตุหลักยังคงเกิดจากการเมาแล้วขับแลขับรถเร็วรวมถึงผู้ใช้รถจักรยานยนต์เป็นกลุ่มที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 69.15โดยศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ได้ประสานให้แต่ละจังหวัด ยึด 5 เสาหลักตามทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนเป็นกรอบในการดำเนินงาน ครอบคลุมทั้งวางกลไก การบริหารจัดการอุบัติเหตุทางถนนที่เป็นระบบ การยกระดับการสัญจรและยานพาหนะที่ปลอดภัย การสร้างจิตสำนึกและวินัยจราจรในกลุ่มผู้ใช้รถใช้ถนน และการจัดการหลังเกิดอุบัติเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงให้ความสำคัญ กับการปรับปรุงและแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางถนน โดยเฉพาะการป้องกันอุบัติเหตุจาก การขับรถเร็ว เมาแล้วขับ และอุบัติเหตุรถโดยสารสาธารณะ เครือข่ายช่วยเหลือฉุกเฉิน (EMS) ภายใต้การสนับสนุนโดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลท่าช้าง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิต และทรัพย์สิน จึงได้จัดทำศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงอุบัติเหตุจราจรขึ้น ซึ่งจะเป็นกิจกรรม ที่สำคัญในการป้องกันและลดการเกิดความพิการและการสูญเสียชีวิตของประชาชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจวัดแอลกอฮอล์ในลมหายใจผู้ขับขี่ที่เข้าข่ายต้องสงสัยจะมีแอลกอฮอล์เกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด (ปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) ในห้วงเวลา 7 วันอันตรายของเทศกาลวันปีใหม่ และในเทศกาลวันสงกรานต์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมตรวจวัดแอลกอฮอล์ผู้ขับขี่ที่เข้าข่ายต้องสงสัยจะมีแอลกอฮอล์เกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด ในห้วงเวลา 7 วันอันตรายของเทศกาลวันปีใหม่และในเทศกาลวันสงกรานต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจวัดแอลกอฮอล์ในลมหายใจผู้ขับขี่ที่เข้าข่ายต้องสงสัยจะมีแอลกอฮอล์เกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด (ปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) ในห้วงเวลา 7 วันอันตรายของเทศกาลวันปีใหม่ และในเทศกาลวันสงกรานต์
ตัวชี้วัด : สามารถช่วยลดอุบัติที่เกิดในเทศกาลวันปีใหม่และในเทศกาลวันสงกรานต์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจวัดแอลกอฮอล์ในลมหายใจผู้ขับขี่ที่เข้าข่ายต้องสงสัยจะมีแอลกอฮอล์เกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด (ปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) ในห้วงเวลา 7 วันอันตรายของเทศกาลวันปีใหม่ และในเทศกาลวันสงกรานต์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมตรวจวัดแอลกอฮอล์ผู้ขับขี่ที่เข้าข่ายต้องสงสัยจะมีแอลกอฮอล์เกินค่ามาตรฐาน ที่กำหนด ในห้วงเวลา 7 วันอันตรายของเทศกาลวันปีใหม่และในเทศกาลวันสงกรานต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์สร่างเมาลดปัญหาการเสียชีวิตและการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิงจากอุบัติเหตุจราจร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5209-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจำรูญ ทองสลับล้วน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด