กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางภารดี วงศ์ฐารัฐ




ชื่อโครงการ สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3065-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61



บทคัดย่อ

โครงการ " สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือที่เรียกว่าโรควิถีชีวิต 5 โรคได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจโรคหลอดเลือดสมองและ โรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นจากความเจริญทางด้านวัตถุสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมรวมถึงภาวะความเครียดขาดการออกกำลังกายการสูบบุหรี่ดื่มสุราหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยพิการและเสียชีวิตนอกจากนี้ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล จากสถานการณ์ของโรคในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ 8 ตำบลตุยงในปีงบประมาณ 2561จากการคัดกรองประชากรกลุ่ม 35 ปีขึ้นไปจำนวน 815 คนพบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 314 คนกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 241 คนมีภาวะแทรกซ้อน 5 คน พบสงสัยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 12 คน พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 35 คนกลุ่มป่วยเบาหวานจำนวน 87 คนพบมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน32 คนเสี่ยงสูงผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 8 คนผู้ป่วยเป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 7 คน และจากการประเมินความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองในกลุ่มประชากร 35 ปีขึ้นไปพบว่าส่วนใหญ่มีความรู้แต่ยังขาดความตระหนักและทักษะในการปฏิบัติตนขาดแรงกระตุ้น แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและขาดความร่วมมือจากผู้ดูแล พบว่าในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุต้องมีคนดูแลในเรื่องการรับประทานอาหารการประกอบอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเป็นแรงกระตุ้นและจัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยปฏิบัติได้จริง ดังนั้น กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก เล็งเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังขึ้นพร้อมจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อช่วยในการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการและเป็นเอกภาพทุกระดับและให้สามารถผลักดันสู่การปฏิบัติการให้เกิดผลสำเร็จเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อนลดการพิการลดการตายลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคลครอบครัวชุมชนสังคมและประเทศเพื่อก้าวสู่วิถีชีวิตพอเพียงสุขภาพพอเพียงระบบสุขภาพพอเพียงและสังคมสุขภาวะภายใต้สังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก จึงได้นำเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติจัดทำโครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อให้ประชาชนหมู่ที่ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่ดี มีความรู้ความตระหนักในการดูแลตนเองลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ลดการสูญเสียของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและจัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 จัดเวทีประชาคมร่วมกับภาคีเครื่อข่ายคืนข้อมูลแก่ชุมชนหมู่ที่ 8 จำนวน 1 ครั้ง
  2. 2. คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี ครั้งที่ 1
  3. คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี ครั้งที่ 2
  4. 3. ให้ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย/ผู้ดูแลและ อสม. ผู้ดเข้าร่วมโครงการ พร้อมสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพและแยกกลุ่มเฝ้าระวังปิงปองจราจร ๗ สี 2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนและอัตราเสียชีวิตลดลง ๓. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นคนต้นแบบและชุมชนต้นแบบได้อย่างยั่งยืน 4. คณะกรรมการและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโครงการอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 จัดเวทีประชาคมร่วมกับภาคีเครื่อข่ายคืนข้อมูลแก่ชุมชนหมู่ที่ 8 จำนวน 1 ครั้ง

วันที่ 4 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีประชา่คมร่วมกับภาคีเครือข่ายคืนข้อมูลแก่ชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านบางปลาหมอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพและแยกกลุ่มเฝ้าระวังปิงปอง 7 สี

 

50 0

2. 2. คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี ครั้งที่ 1

วันที่ 25 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปี ขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้าระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนและอัตราเสียชีวิตลดลง

 

50 0

3. คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี ครั้งที่ 2

วันที่ 22 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปที่เข้าร่้วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้าระวังและดูแลในปิงปองจราจรน 7 สี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนและอัตราเสียชีวิตลดลง

 

50 0

4. 3. ให้ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย/ผู้ดูแลและ อสม. ผู้ดเข้าร่วมโครงการ พร้อมสรุปโครงการ

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยผู้ดูแล อสม.ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชน 35 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นคนต้นแบบและชุมชนต้นแบบได้อย่างยั่งยืน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและจัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและจัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี
50.00 50.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
50.00 50.00

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง
ตัวชี้วัด : เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง
0.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและจัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีประชาคมร่วมกับภาคีเครื่อข่ายคืนข้อมูลแก่ชุมชนหมู่ที่ 8 จำนวน 1 ครั้ง (2) 2. คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี  ครั้งที่ 1 (3) คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้า่ระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี  ครั้งที่ 2 (4) 3. ให้ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย/ผู้ดูแลและ อสม. ผู้ดเข้าร่วมโครงการ พร้อมสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 61 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3065-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภารดี วงศ์ฐารัฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด