กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นาวสาววรรณี ปาทาน




ชื่อโครงการ โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 94,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ไข้เลือดออกในจังหวัดสตูล มีผู้ป่วยแล้วทุกอำเภอ โดยตั้งแต่เดือนมกราคมถึงพฤศจิกายน 2560 จำนวนทั้งสิ้น 66 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 21.07 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียขีวิต 2 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.64 อัตราผู้ป่วยตายเท่าแับร้อยละ 3.03 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 32 ราย รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10-14 ปี ,5-9 ปี อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 30 ราย รองลงมาคือ อาชีพรับจ้าง อาชีพในการปกครองและอาชีพเกษตร อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออำเภอมะนัง อัตรป่วยเท่ากับ 45.11 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ อำเภอทุ่งหว้า อำเภอท่าแพ อำเภอเมือง อำเภอละงู อำเภอควนกาหลง อำเภอควนโดน อัตราป่วยเท่ากับ 42.3 ,42.05 ,20.44 ,11.31 ,8.73, 7.73 ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล 2560) สำหรับพื้นที่ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้าน โดยเริ่มพบผู้ป่วยตั้งแต่เดือนมกราคม จนถึงเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ 2560 จำนวนทั้งสิ้น 74 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 773.89 ต่อแสนประชากร ซึ่งถือว่ามีอัตรผู้ป่วยที่สูงมาก โดยหมู่บ้านที่พบผู้ป่วยมากที่สุด 3 อันดับ แรกคือ หมู่ที่ 7 บ้านสายควน หมู่ที่ 2 บ้านท่าแพ และหมู่ที่ 6 บ้านลุ่ม จำนวนผู้ป่วยได้แก่ 21 ราย 17 ราย และ 15 ราย ตามลำดับ สำหรับหมู่บ้านที่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยที่สุดได้แก่ หมู่ที่ 9 บ้านนาแก้ว หมู่ที่ 10 บ้านควนบิลายสา และหมู่ที่ 3 บ้านมุด จำนวนผู้ป่วยได้แก่ 2 ราย 3 ราย และ 3 รายตามลำดับ โดยเริ่มพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนมีนาคมของปี และพบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนกรกฎาคมของปี และคาดว่าจะมีการระบาดไปเรื่อยๆ ถ้าไม่มีการป้องกันและควบคุมโรค ดังนั้นเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดระบาดขึ้นในพื้นที่ตำบลท่าแพ กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลท่าแพ ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าแพปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2.เพื่อป้องกันและลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3.เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อป้องกันควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่เกิด Second Generation

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จ้างเหมาพ่นหมอกควันในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกผู้ป่วยในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าแพมีสุขภาพดีปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญกับการป้องกันไข้เลือดออกตลอดจนการดูแลสุขภาพและอนามัยชุมชน
  3. การป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกเป็นไปตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งกำหนดไว้ว่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือนให้มีค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI ไม่เกิน 0

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จ้างเหมาพ่นหมอกควันในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกผู้ป่วยในพื้นที่

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2.เพื่อป้องกันและลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3.เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อป้องกันควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่เกิด Second Generation
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน 2.เพื่อป้องกันและลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3.เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อป้องกันควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่เกิด Second Generation

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จ้างเหมาพ่นหมอกควันในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกผู้ป่วยในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าแพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาวสาววรรณี ปาทาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด