เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีย๊ะแวดือราเฮง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61
บทคัดย่อ
โครงการ " เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็ก 0-5 ปี เป็นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จากบิดา มารดา คนรอบข้าง ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษาด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม หากเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยซึ่งเป็นรากฐานที่ดี เพราะพัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กไทยจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆผ่ายที่เกี่ยวข้อง เริ่มต้นตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณละสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการจะส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่ และครอบครัวที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก เป็นสถานที่สำหรับเตรียมความพร้อม ทั้งด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษาด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมให้แก่เด็ก เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้วจะเป็นการวางฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก มีเด็กที่ต้องเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) จำนวน 452 คน ในช่วงอายุ 9 เดือน จำนวน 115 คน อายุ 18 เดือน จำนวน 119 คน อายุ 30 เดือน จำนวน 105 คน และอายุ 42 เดือน จำนวน 113 คน
ดังนั้นกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหา คัดกรอง/เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา
- เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
- จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม.
- จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ในช่วง 4 วัย
- เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นหรือส่งต่อได้อย่างถูกต้อง
- อสม. และผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าโดย แนนำสุขภาพครอบครัว อสม.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการคัดกรองซ้ำ และส่งต่อเด็กที่ล่าช้า
349
0
2. จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม.
วันที่ 13 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม. ผู้ปกครอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มขึ้น และมีทัศนคติที่ดี
1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ในช่วง 4 วัย
2. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นหรือส่งต่อได้อย่างถูกต้อง
3. อสม. และผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน
60
0
3. จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ในช่วง 4 วัย
- เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นหรือส่งต่อได้อย่างถูกต้อง
- อสม. และผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน
35
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ 98.85
- เด็ก 0-5 ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองและติดตามคัดกรองซำ้ ภายใน 1 เดือน ร้อยละ 100
- เด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองซำ้ ภายใน 1 เดือน พบพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100 (1 คน)
- ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00
349.00
2
เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา
ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองและติดตามคัดกรองซ้ำ ภายใน 1 เดือน ร้อยละ90
2. เด็กที่ได้รับการติดตามคัดกรองซ้ำ ภายใน 1 เดือน ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
0.00
100.00
3
เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย ร้อยละ 70
0.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า (2) จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม. (3) จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารีย๊ะแวดือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีย๊ะแวดือราเฮง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61
บทคัดย่อ
โครงการ " เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็ก 0-5 ปี เป็นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จากบิดา มารดา คนรอบข้าง ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษาด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม หากเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยซึ่งเป็นรากฐานที่ดี เพราะพัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กไทยจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆผ่ายที่เกี่ยวข้อง เริ่มต้นตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณละสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการจะส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่ และครอบครัวที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก เป็นสถานที่สำหรับเตรียมความพร้อม ทั้งด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษาด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมให้แก่เด็ก เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้วจะเป็นการวางฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก มีเด็กที่ต้องเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) จำนวน 452 คน ในช่วงอายุ 9 เดือน จำนวน 115 คน อายุ 18 เดือน จำนวน 119 คน อายุ 30 เดือน จำนวน 105 คน และอายุ 42 เดือน จำนวน 113 คน ดังนั้นกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหา คัดกรอง/เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา
- เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
- จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม.
- จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 35 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ในช่วง 4 วัย
- เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นหรือส่งต่อได้อย่างถูกต้อง
- อสม. และผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า |
||
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าโดย แนนำสุขภาพครอบครัว อสม. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการคัดกรองซ้ำ และส่งต่อเด็กที่ล่าช้า
|
349 | 0 |
2. จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม. |
||
วันที่ 13 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม. ผู้ปกครอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มขึ้น และมีทัศนคติที่ดี 1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ในช่วง 4 วัย 2. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นหรือส่งต่อได้อย่างถูกต้อง 3. อสม. และผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน
|
60 | 0 |
3. จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
35 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ 98.85
- เด็ก 0-5 ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองและติดตามคัดกรองซำ้ ภายใน 1 เดือน ร้อยละ 100
- เด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองซำ้ ภายใน 1 เดือน พบพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100 (1 คน)
- ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | 349.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองและติดตามคัดกรองซ้ำ ภายใน 1 เดือน ร้อยละ90 2. เด็กที่ได้รับการติดตามคัดกรองซ้ำ ภายใน 1 เดือน ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100 |
0.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย ตัวชี้วัด : อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย ร้อยละ 70 |
0.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 35 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติได้ทันเวลา (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กตามช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า (2) จัดประชุมชี้แจงโครงการและอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่เครือข่าย อสม. (3) จัดทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ปี 61 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารีย๊ะแวดือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......