กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม. ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสุรีย์ โทบุรี




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม.

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม. จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม.



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม. " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมสุขลักษณะและอนามัยสิ่งแวดล้อม จากสถานประกอบการต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม สถานที่เสริมสวย – แต่งผม ก็เป็นกิจการประเภทหนึ่ง ที่ได้กำหนดไว้ในกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ปัจจุบันสถานบริการเสริมสวย – แต่งผม ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี มีจำนวนประมาณ 80 แห่ง การใช้บริการในสถานที่ดังกล่าว ประกอบด้วยประชาชนทุกเพศ ทุกวัย จึงทำให้มีโอกาสเกิดโรคติดต่อ หรือเกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้บริการจากหลายสาเหตุ ได้แก่ 1 สถานเสริมสวยแต่งผม เป็นสถานบริการที่ผู้รับบริการและผู้ให้บริการมีการสัมผัสร่างกาย หากมีบุคคลใดๆ บุคคลหนึ่งเจ็บป่วย ย่อมมีโอกาสที่จะติดต่อกันได้ง่าย นอกจากการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่จะติดต่อกันโดยตรงจากผู้ใช้บริการสู่ผู้ประกอบการ หรือผู้ประกอบการสู่ผู้ใช้บริการเช่น ไข้หวัด วัณโรค จากการไอ จาม รดใส่กัน 2. การเกิดโรคที่มาจากทางอ้อม เช่น การสัมผัสกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ไม่สะอาด เช่น หวี กรรไกรตัดผม กรรไกรตัดเล็บ ใบมีดโกน ผ้าขนหนู ฯลฯทำให้เกิดโรคผิวหนังต่าง ๆ หรือโรคเอดส์ก็สามารถติดต่อกันได้จากการใช้บริการในสถานที่ดังกล่าว
3. การแพ้สารสัมผัส การเกิดได้ทั้งผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ เช่น การแพ้สารเคมี ในแชมพู ยาย้อมผม น้ำยาดัดผม เครื่องสำอางต่าง ๆ อาจทำให้เกิด อาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน บางรายแพ้มากถึงขั้นเจ็บป่วยต้องเข้ารับการรักษา 4.อุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น เกิดไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าช๊อต ที่เกิดจากอุปกรณ์ เครื่องอบไอน้ำ ไดร์เป่าผม โดนมีดโกนบาด
จากเหตุผลข้างต้น งานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย แต่งผม ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความตระหนักต่อการพัฒนาสุขวิทยาส่วนบุคคล เลือกใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาดปลอดภัย ต่อผู้ใช้บริการ ร่วมถึงลดอัตราการเกิดโรค และ อุบัติเหตุ ที่อาจเกิดขึ้นในสถานบริการ นอกจากนี้การพัฒนาสถานที่เสริมสวย – แต่งผม ยังมีประโยชน์ต่อบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ 1. ประชาชาชนผู้ไปรับบริการ ได้รับความปลอดภัยจากการใช้บริการสถานที่เสริมสวย-แต่งผม 2. ผู้ประกอบอาชีพเสริมสวย –แต่งผม มีความปลอดภัยจากการทำงาน ส่งผลให้มีสุขภาพดี 3. เจ้าของกิจการ ได้รับความเชื่อมั่นจากผู้มารับบริการ ถึงความสะอาด ความปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีร้านเสริมสวย – แต่งผม ที่ได้มาตรฐาน และเป็นต้นแบบ “ร้านเสริมสวย – แต่งผม สะอาด ปลอดภัย น่าใช้ บริการ”
  2. 2. ผู้ประกอบการร้านเสริมสวย – แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย-แต่งผม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม 2 ดำเนินการสำรวจข้อมูลและตรวจแนะนำให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลแก่ผู้ประกอบการ 3 ประเมินมาตรฐานด้านสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย-แต่งผม
  2. 1.ดำเนินการประเมินสถานประกอบการเสริมสวย – แต่งผม ในรอบที่ 1
  3. ประเมินในรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 -15 กรกฎาคม 2561
  4. ประกาศผลและมอบป้ายมาตรฐานพร้อมอุปกรณืตัวอย่าง ภายในวันที่ 15 สิงหาคม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม มีความรู้ เข้าใจ และตระหนักต่อการพัฒนาสถานประกอบการให้มีความสะอาดปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการ
  2. ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่เกิดจากสถานประกอบการเสริมสวย - แต่งผม
  3. ผู้บริการได้เลือกใช้บริการ สถานที่เสริมสวย- แต่งผม ที่สะอาดปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มีร้านเสริมสวย – แต่งผม ที่ได้มาตรฐาน และเป็นต้นแบบ “ร้านเสริมสวย – แต่งผม สะอาด ปลอดภัย น่าใช้ บริการ”
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของสถานประกอบการเสริมสวย- แต่งผม ผ่านการประเมินมาตรฐานและพัฒนาเป็นร้านต้นแบบ ของท้องถิ่น
0.00

 

2 2. ผู้ประกอบการร้านเสริมสวย – แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย-แต่งผม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้ประกอบการสถานที่เสริมสวย แต่งผม มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฎิบัติตามข้อกำหนดได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีร้านเสริมสวย – แต่งผม ที่ได้มาตรฐาน และเป็นต้นแบบ “ร้านเสริมสวย – แต่งผม สะอาด ปลอดภัย น่าใช้ บริการ”  (2) 2. ผู้ประกอบการร้านเสริมสวย – แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย-แต่งผม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม  2 ดำเนินการสำรวจข้อมูลและตรวจแนะนำให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลแก่ผู้ประกอบการ 3 ประเมินมาตรฐานด้านสุขาภิบาลสถานที่เสริมสวย-แต่งผม  (2) 1.ดำเนินการประเมินสถานประกอบการเสริมสวย – แต่งผม ในรอบที่ 1  (3) ประเมินในรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 -15 กรกฎาคม 2561 (4) ประกาศผลและมอบป้ายมาตรฐานพร้อมอุปกรณืตัวอย่าง ภายในวันที่ 15 สิงหาคม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาสถานประกอบการร้านเสริมสวยแต่งผม. จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุรีย์ โทบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด