กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2482-1-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลตระหนักดีว่าเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต จึงได้ขับเคลื่อนนโยบายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด-๕ปี
การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิด -๗๒ เดือน เป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย
ปัจจัยท่ีมีผลต่อพัฒนาการของเด็ก เช่นสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรม กับเด็กที่ผ่านการเล่น เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กที่สำคัญ รวมถึงการติดตามพัฒนาการด้านการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย เช่นรูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง ของเด็กให้เหมาะสมตามวัย และที่สำคัญควรพาเด็กไปรับบริการตรวจสุขภาพ และรับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามดูการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็ก สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพ สำหรับผู้ปกครองเด็กอายุแรกเกิด - ๗๒ เดือน ในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านโคกมือบา ส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย และพัฒนาการด้านต่างๆปล่อยให้พัฒนาการของเด็ก เป็นไปตามธรรมชาติ เป็นไปตามพันธุกรรมที่ได้รับจาก พ่อ แม่ เท่านั้น ขาดการกระตุ้น และการส่งเสริมที่ถูกต้องตามหลักการเลี้ยงดูลูก รพ.สต.บ้านโคกมือบา ได้ดำเนินกิจกรรมในการดูแลเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ โดยเริ่มตั้งแต่ การฝากครรภ์ การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การติดตามการเจริญเติบโตด้านร่างกาย การดูแลด้านสุขภาพช่องปาก กรบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายในการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กวัยแรกเกิด - ๗๒ เดือน ทางรพ.สต.บ้านโคกมือบา ได้ให้ความสำคัญและจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
  2. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง
  4. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
  5. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนตามเกณฑ์
  6. เพื่อส่งเสริมให้ เด็กแรกเกิด -72 เดือนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการของเด็ก
  2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีพัฒนาการสมวัย และมีรูปร่างสมส่วน
  2. มีผู้ปกครองตัวอย่างในการเลี้ยงดูเด็กให้มีคุณภาพ
  3. ผู้ปกครองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลี้ยงดูบุตรหลาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการของเด็ก

วันที่ 11 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ณ. ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา - ให้ความรู้เรื่องโภชนาการและการให้อาหารเสริมตามวัยเด็ก โดย นางดาราวัลย์ บั้นบูลย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประกอบอาหารสำหรับเด็ก โดยผู้ปกครองเด็ก วันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ. ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา - ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็ก โดย นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็กเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดย นางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน วันที่ 3 กันยายน 2561 ณ. ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา - ให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารในเด็ก โดย นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็กเรื่องการดูแลเด็กที่ป่วยไข้ โดย นางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องโภชนาการและการให้อาหารเสริมตามวัยเด็ก การส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็ก และการเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารในเด็ก นอกจากนี้ยังได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

 

20 0

2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมประกาศและรับสมัครเด็กอายุ 3-5 ปี เข้าร่วมการคัดเลือก ประกวด หนูน้อยสุขภาพดี ระหว่างวันที่ 11 กรกฎาคม 2561 - 20 กรกฎาคม 2561
  2. กิจกรรมการคัดเลือกประกวดหนู้น้อยสุขภาพดี รอบที่ 1
    • วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 (กลุ่มเด็ก น้ำหนักปกติ)
    • วันที่ 1 สิงหาคม 2561 (กลุ่มเด็ก น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)
  3. กิจกรรมการคัดเลือกประกวดหนูน้อยสุขภาพดี รอบที่ 2
    • วันที่ 9 สิงหาคม 2561 (กลุ่มเด็ก น้ำหนักปกติ)
    • วันที่ 10 สิงหาคม 2561  (กลุ่มเด็ก น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการประกวดพบว่า กลุ่มเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ด.ช.ซารีฟ ลอนิ มีคะแนนรวม 406.5 จากคะแนนรวมทั้งหมด 450 จากผลการประกวดพบว่า กลุ่มเด็กที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ด.ญ.อันดาลีฟ เจ๊ะฮะ มีคะแนนรวม 433.2 จากคะแนนรวมทั้งหมด 450

 

0 0

3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลประกาศผลการประกวดหนูน้อย จำนวน 2 ป้าย x 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิลจำนวน 2 ป้าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กจำนวน 10 คน เป็นระยะเวลา 3 เดือน
  2. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการติดตามน้ำหนักและประเมินพัฒนาการ จำนวน 10 คน เป็นระยะเวลา 12 เดือน น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
  3. จากกิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดีในกลุ่มเด็กที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์อย่างต่อเนื่องทำให้ผู้ปกครองสนใจให้ความสำคัญในการเลี้ยงดูบุตร
  4. จากกิจกรรมประกวดหนู้น้อยสุขภาพดี ในกลุ่มเด็กที่มีน้ำหนักน้อยเกณฑ์และได้รับความรู้ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก จนสามารถมีน้ำหนักผ่านเกณฑ์ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับผู้ปกครองคนอื่นๆได้
  5. จากกิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ทั้งสองกลุ่ม ทำให้มีบุคคลตัวอย่างในหมู่บ้าน และชุมชนในเรื่องของการเลี้ยงดูบุตรให้มีคุณภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือนมีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารน้อยกว่า
10.00

 

2 เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กแรกเกิด-72 เดือนมีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาการขาดสารอาหารน้อยกว่า
10.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์สามารถประกอบอาหารได้เหมาะสมตามวัยของเด็ก
30.00

 

4 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กแรกกิด - 72 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญา
90.00 100.00

 

5 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์
90.00 100.00

 

6 เพื่อส่งเสริมให้ เด็กแรกเกิด -72 เดือนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์
80.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย (5) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนตามเกณฑ์ (6) เพื่อส่งเสริมให้ เด็กแรกเกิด -72 เดือนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการของเด็ก (2) กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี (3) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ หนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด