กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย


“ โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส ”

ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายแผ้ว กรรณราย

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3348-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3348-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพ เป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางกายทางจิตและทางสังคม จากสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบันส่งผลให้ประชาชนมีปัญหาสุขภาพที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะปัญหาสุขภาพที่เกิดจากโรคที่สามารถป้องกันได้ได้แก่โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตใจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาส ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจึงส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยติดเตียง รวมถึงการสร้างภาระต่อญาติหรือผู้ดูแลส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงยังขาดความรู้เข้าใจในการดูสุขภาพไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายด้านจิตใจทำให้ผู้ป่วยบางรายมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต และขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต
โครงการดูแลสุขภาพโครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาสขึ้น โดยสร้างกระบวนการมีส่วนในการทำงานด้านสุขภาพในพื้นที่ มีหน่วยงานองค์กร ภาคี เครือข่าย ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช / ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ ต้องดูแลเป็นพิเศษและต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมในการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญาณ และมีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยการเยี่ยมบ้านแบบองค์รวมและผสมผสานการบริการในเชิงรุก เพื่อดูแลสุขภาพของประชาชนในกลุ่มเป้าหมายเป็นการช่วยเหลือและให้กำลังใจ โดยเน้นใน ด้านส่งเสริมสุขภาพ /การป้องกัน / การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตรวมทั้งการสนับสนุนการรักษาพยาบาลในการลดอัตราการป่วยของประชาชน และยัง เป็นการดูแลสุขภาพแล้วยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ของครอบครัว/ชุมชน ให้เกิดความรัก /ความสามัคคี /การช่วยเหลือแบ่งปัน และยังได้ช่วยสร้างความสัมพันธ์ของเจ้าหน้าที่ฯ/อาสาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน/องค์กรต่างๆ กับชุมชนและการทำงานเป็นทีม ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการทำงานการสร้างสุขภาพชุมชนและทำงานในด้านเชิงรุก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ / ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช /ผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้าย เพื่อขวัญกำลังใจกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและส่งเสริมให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. สามารถนำการปฏิบัติงานจากโครงการมาบันทึกเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้สูงอายุ, ผู้พิการ/ผู้ป่วยจิตเวช, ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้าน
  2. กลุ่มผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เกิดความสัมพันธ์ภาพที่ดีในครอบครัว/ชุมชน
  4. สร้างขวัญกำลังใจแก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
  5. เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาในปีถัดไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ / ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช /ผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้าย เพื่อขวัญกำลังใจกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและส่งเสริมให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มผู้สูงอายุ / ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช /ผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมการให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพรายบุคคล จำนวน 120 คน 2. เกิดความสัมพันธ์ภาพที่ดีในครอบครัว/ชุมชน 3. สร้างขวัญกำลังใจแก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
1.00

 

2 สามารถนำการปฏิบัติงานจากโครงการมาบันทึกเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ตัวชี้วัด : 1. ผลการดำเนินโครงการสามารถนำมาวิเคราะห์เพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสุขภาพรายบุคคลได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ / ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช /ผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วยระยะสุดท้าย เพื่อขวัญกำลังใจกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและส่งเสริมให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดี (2) สามารถนำการปฏิบัติงานจากโครงการมาบันทึกเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลสุขภาพผู้ด้อยโอกาส จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3348-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแผ้ว กรรณราย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด