กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพร รัตนซ้อน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจบป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเรียกรวมกันว่า เมตาบอลิกซินโดรม ( Metabolic Syndrome ) กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คือ การเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วน เพราะอุปนิสัยการกินที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในชีวิตประจำวัน กินอาหารที่ไม่มีไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่โรคเบาหวาน และโรคความดันโละหิตสูง จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 815 ราย ในเดือน ตุลาคม 2559 พบว่าประชาชน มีรอบเอวเกินมาตรฐาน จำนวน 269 ราย คิดเป็นร้อยละ 33 มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน 373 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.76 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 212 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.01 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 157 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.26 และ จากสถิติผู้ป่วยที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลทุ่งยางแดง พบป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 161 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.75 และ โรคเบาหวาน จำนวน 55 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.74 ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต ในการลดการเกิดของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ต้องทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในสังคมทั้งหมดด้วยการรณรงค์เรื่องวิถีชีวิต ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วน อันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยื้อน ไม่ออกกำลังกาย การปล่อยปละละเลยไม่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ส่งผลให้โรคแทรกซ้อนเกิดเร็วขึ้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานทั้งคนที่มีรอบเอวเกิน ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี เพือ่ให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ ในการกำกับพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีรอบเอวเกินมาตรฐานสามารถลดรอบเอวได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ 4. เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 130/80 mm/Hg สามารถลดระดับความดันโลหิตได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ละลายพฤติกรรม 2. กิจกรรมกลุ่มสร้างความตระหนักให้ทราบและเข้าใจหลัก 3 Self 3. กิจกรรมฐานความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามารถ ในการกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรม ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีรอบเอวเกินมาตรฐานสามารถลดรอบเอวได้ ร้อยละ 70
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 70
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 130/80 mm/Hgสามารถลดระดับความดันโลหิตได้ ร้อยละ 70

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมาย จำนวน 240 คน  ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มมากขึ้นจากก่อนอบรม สังเกตได้จากการซักถาม ร่วมแสดงความคิดเห็น ตอบคำถามและการทำกิจกรรมร่วมกัน สำหรับการประเมินด้านสุขภาพร่างกาย จะต้องใช้ระยะเวลา หลังการอบรมอย่างน้อย 3-6 ปเดือน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อละจะมีการวัดผลอีกครั้งในช่วงเดือนพฤศจิกายน - เดือนธันวาคม 2560

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ ในการกำกับพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีรอบเอวเกินมาตรฐานสามารถลดรอบเอวได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ 4. เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 130/80 mm/Hg สามารถลดระดับความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : 1. ตัวชี้วัดของผลงาน / ผลผลิต (Out Put ) - กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รอบเอวเกิน และน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 240 คน - ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตลอดหลักสูตร 2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out Come) 2.1 ร้อยละ 70 ของจำนวนผู้ที่มีรอบเอวเกิน มีรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 2.2 ร้อยละ 70 ของจำนวนผู้มีค่าความดันโลหิตสูง มีระดับความดันโลหิตลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 2.3 ร้อยละ 70 ของผู้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 2.4 ร้อยละ 70 ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ ในการกำกับพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีรอบเอวเกินมาตรฐานสามารถลดรอบเอวได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้  4. เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 130/80 mm/Hg สามารถลดระดับความดันโลหิตได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ละลายพฤติกรรม  2. กิจกรรมกลุ่มสร้างความตระหนักให้ทราบและเข้าใจหลัก 3 Self  3. กิจกรรมฐานความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัทรพร รัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด