กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต
รหัสโครงการ 61-L2482-4-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุน
วันที่อนุมัติ 25 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 12 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 64,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอำนวย ทองจินดา
พี่เลี้ยงโครงการ นางลัคนา ราชสุวรรณ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.175,102.052place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2560 24 เม.ย. 2561 1 ต.ค. 2560 31 ต.ค. 2561 2,600.00
2 1 ต.ค. 2560 17 พ.ค. 2561 25,600.00
3 1 ต.ค. 2560 5 ก.ค. 2561 18,400.00
รวมงบประมาณ 46,600.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (46,600.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (64,400.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 23 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพมฃในระดับท้องถิ่น ได้กำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนได้เป็น ๕ประเภท ได้แก่ กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ กิจกรรมเพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกของศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่น และกิจกรรมพ่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิตได้รับสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือการพัฒนากองทุนฯ มาโดยตลอดตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อนำงบประมาณที่ได้รับมาบริหารจัดการกองทุน จัดเตรียมวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในการดำเนินงานของกองทุนฯต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

โครงการที่เสนอมาได้รับการอนุมัติทุกโครงการ

100.00
2 เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน

 

0.00
3 เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

มีการรับเงิน จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ร้อยละ 90

90.00
4 เพื่อกำกับดูแลหน่วยงาน หรือกลุ่ม หรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

โครงการที่ได้รับการอนุมัติตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ร้อยละ 90

90.00
5 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

สรุปผลการดำเนินงานได้ ร้อยละ 90

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 22,000.00 3 46,600.00
1 ต.ค. 60 - 30 ก.ย. 61 ซื้อคอมพิวเตอร์สำนักงาน จำนวน 1 ชุด 0 20,000.00 18,400.00
1 ต.ค. 60 - 30 ก.ย. 61 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 0 2,000.00 2,600.00
5 ต.ค. 61 จัดประชุมคณะกรรมการและอนุกรรฒการ 0 0.00 25,600.00
  1. ขั้นตอนการวางแผน
    • ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวณคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน
    • กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ
  2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
    • ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
    • จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์การดำเนินงาน
    • จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    • จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
  3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
    • จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย ๔ ครั้ง/ปี
    • สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการหลักประกันสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2561 10:18 น.