กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ


“ ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ ”

ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ

ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-61-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุทางน้ำเกิดขึ้นได้เสมอและเป็นความเสี่ยงหากไม่มีทักษะในการว่ายน้ำหรือทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและรวมถึงทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ การสูญเสียที่ไม่ควรจะเสียลดลงได้หากมีการป้องกัน รายงานจากกระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ.2559 พบว่าการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำของเด็กอายต่ำกว่าอายุ 15 ปี สถิติในประเทศไทยเด็กในอายุดังกล่าวจะเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 1,400 คน หมายถึงวันละเกือบ 4 คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ สำหรับช่วงเวลาที่เด็กเสียชีวิตจาการจมน้ำมากที่สุดจะเป็นเดือนเมษายน โดยมีสถิติสูงถึง 182 คน รองลงมาจะเป็นเดือนมีนาคม 148 คน และเดือนพฤษภาคม 141 คน เด็กที่มีกลุ่มเสี่ยงมากที่สุดอยู่ระหว่างอายุ 1-9 ปี จากมูลเหตุดังกล่าวหากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก จำเป็นจะต้องฝึกทักษะให้เด็กในกลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ หรือ”ว่ายน้ำเป็นและเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตคนจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ ถึงแม้ว่าปัจจุบันในพื้นที่ตำบล แป-ระ ยังไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ต้องมีการเฝ้าระวังและฝึกอบรมการเอาตัวรอดของเด็กกลุ่มเสี่ยง
จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ในปีงบประมาณ 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
  2. 2. เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - ค่าเอกสาร/คู่มือประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ชุดละ 50 บาท
  2. - ค่าเช่าเหมารถรับส่งผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 4 คันๆ ละ 700 บาท x 2 วัน
  3. - ค่าวิทยากรจำนวน 10 คน ๆ ละ 600 บาท x 2 วัน
  4. - ค่าอาหารจำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท x 2 วัน
  5. ค่าใช้สถานที่ วันละ 2,500 บาท x 2 วัน
  6. - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ตรม.ละ 150 บาท จำนวน 1 ผืน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2) เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. - ค่าเอกสาร/คู่มือประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ชุดละ 50 บาท

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดจ้าง ร้านเอฟดีซุปเปอร์สโตร์ จัดทำเอกสาร/คู่มือประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ชุดละ 50 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดจ้าง ร้านเอฟดีซุปเปอร์สโตร์ จัดทำเอกสาร/คู่มือประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ชุดละ 50 บาท

 

0 0

2. - ค่าเช่าเหมารถรับส่งผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 4 คันๆ ละ 700 บาท x 2 วัน

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากสระว่ายน้ำที่จัดทำโครงการมีระยะทางใกล้จึงไม่เบิกจ่ายงบประมาณในส่วนนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากสระว่ายน้ำที่จัดทำโครงการมีระยะทางใกล้จึงไม่เบิกจ่ายงบประมาณในส่วนนี้

 

0 0

3. - ค่าวิทยากรจำนวน 10 คน ๆ ละ 600 บาท x 2 วัน

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรจากร่มไทรจำนวน 10 คน ๆ ละ 600 บาท x 2 วันเป็นเงิน 12000บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วิทยากรจากร่มไทรจำนวน 10 คน ๆ ละ 600 บาท x 2 วันเป็นเงิน 12000บาท

 

10 0

4. ค่าใช้สถานที่ วันละ 2,500 บาท x 2 วัน

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สระน้ำโรงเรียนบ้านวังปริง ค่าใช้สถานที่ วันละ 2,500 บาท x 2 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สระน้ำโรงเรียนบ้านวังปริง ค่าใช้สถานที่ วันละ 2,500 บาท x 2 วัน

 

0 0

5. - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ตรม.ละ 150 บาท จำนวน 1 ผืน

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จ้างป้ายไวนิลจากร้าน ซีทีกราฟฟิกขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ตรม.ละ 150 บาท จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 432

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จ้างป้ายไวนิลจากร้าน ซีทีกราฟฟิกขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ตรม.ละ 150 บาท จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 432

 

0 0

6. - ค่าอาหารจำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท x 2 วัน

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จ้างนางรอฮะนี  วังละ  ประกอบอาหารจำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท x 2 วัน  เป็นเงิน 10000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จ้างนางรอฮะนี  วังละ  ประกอบอาหารจำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท x 2 วัน  เป็นเงิน 10000 บาท

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 โดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม
40.00

 

2 2. เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 2.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 โดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน (2) 2. เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - ค่าเอกสาร/คู่มือประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ชุดละ 50 บาท (2) - ค่าเช่าเหมารถรับส่งผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 4 คันๆ ละ 700 บาท x 2 วัน  (3) - ค่าวิทยากรจำนวน 10 คน ๆ ละ 600 บาท x 2 วัน (4) - ค่าอาหารจำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท x 2 วัน                            (5) ค่าใช้สถานที่ วันละ 2,500 บาท x 2 วัน (6) - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ตรม.ละ 150 บาท จำนวน 1 ผืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผุ้ประสบเหตุทางน้ำ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-61-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด