โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อเกิดจากเชื้อแบคทีเรียวัณโรคเป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกายแต่โดยมากมักเป็นที่ปอดผู้ป่วยวัณโรคในระยะแพร่เชื้อ 1 คน สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ 10-15 คน ถ้าไม่ได้รับการรักษาภายในระยะเวลา 1 - 1.5 ปี จะมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 30-50 สำหรับในเขตพื้นที่ตำบลฉลุง ปี 2560 มีผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมดจำนวน 12 ราย ที่อยู่ระหว่างการรักษา รวมทั้งรักษาหาายแล้ว และผู้ที่เสียชีวิต มีจำนวน 1 ราย เป็นผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา วิธีการที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ประเทศต่าง ๆ กว่า 100 ประเทศนำไปปฏิบัติได้ผลดี คือ การค้นหารายป่วยใหม่ให้พบเร็วที่สุด และให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อโดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาจนหายจากวัณโรคและไม่แพร่เชื้อต่อไปอีกทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันวัณโรคตำบลฉลุง ปี 2561 ซึ่งจากการดำเนินงานประจำได้ใช้งบประมาณเงินบำรุงของ รพ.สต.ไปแล้วแต่ยังไม่เพียงพอจึงของบของกองทุน สปสช.อบต.ฉลุง เพิ่มเติมขึ้นเพื่อเป็นการควบคุมการแพร่ระบาดโรคในพื้นที่ตำบลฉลุงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์
- ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง
- จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองวัณโรคทุกราย2.กลุ่มป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยการรักษาและได้รับการรักษาตามมาตรฐานจนหายขาดทุกรายจำนวนผู้ป่วยวัณโรคลดลงหรือหมดไปจากชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 1 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 3.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 4.สำรวจกลุ่มเป้าหมายวัณโรคพร้อมทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง โดย อสม. 5.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในเกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ 6.ประสานงานกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ผู้รับผิดชอบงานคลินิกผู้ป่วยวัณโรคแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วย เจ้าหน้าที่แผนก x-ray เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ห้อง LAB เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการ ส่งต่อมา x-ray ปอด 7.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 8.อสม.ออกดำเนินการ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค 9.จัดรณรงค์ สัปดาห์คัดกรองวัณโรค โดย อสม. และคณะกรรมการหมู่บ้าน10.สรุปรวบรวมคะแนนแบบคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรค11.เก็บเสมหะ ในกรณีปอดเข้าได้กับโรค ติดต่อกัน 3 วัน 12.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยทุกรายได้รับการรักษาโดยแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษาจนครบกำหนดรักษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.ออกดำเนินการประชาสัมพันธ์ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 236 ราย
กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ได้รับการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองวัณโรค จำนวน 27 ราย
ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยทุกรายได้ รับการรักษาโดยแพทยืตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษา จนครบกำหนดการรักษา จำนวน 7 ราย
อัตราป่วยด้วยโรควัณโรคลดลง 26.06 ต่อแสนประชากรเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
80
0
2. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ
วันที่ 17 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 3.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 4.สำรวจกลุ่มเป้าหมายวัณโรคพร้อมทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง โดย อสม. 5.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในเกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ 6.ประสานงานกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ผู้รับผิดชอบงานคลินิกผู้ป่วยวัณโรคแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วย เจ้าหน้าที่แผนก x-ray เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ห้อง LAB เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการ ส่งต่อมา x-ray ปอด 7.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 8.อสม.ออกดำเนินการ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค 9.จัดรณรงค์ สัปดาห์คัดกรองวัณโรค โดย อสม. และคณะกรรมการหมู่บ้าน10.สรุปรวบรวมคะแนนแบบคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรค11.เก็บเสมหะ ในกรณีปอดเข้าได้กับโรค ติดต่อกัน 3 วัน 12.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยทุกรายได้รับการรักษาโดยแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษาจนครบกำหนดรักษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยที่สนใจ จำนวน 80 คน
80
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์และได้รับการรักษาตามมาตรฐาน
0.00
2
ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยวัณโรคลดลงเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ (2) ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง (2) จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อเกิดจากเชื้อแบคทีเรียวัณโรคเป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกายแต่โดยมากมักเป็นที่ปอดผู้ป่วยวัณโรคในระยะแพร่เชื้อ 1 คน สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ 10-15 คน ถ้าไม่ได้รับการรักษาภายในระยะเวลา 1 - 1.5 ปี จะมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 30-50 สำหรับในเขตพื้นที่ตำบลฉลุง ปี 2560 มีผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมดจำนวน 12 ราย ที่อยู่ระหว่างการรักษา รวมทั้งรักษาหาายแล้ว และผู้ที่เสียชีวิต มีจำนวน 1 ราย เป็นผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา วิธีการที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ประเทศต่าง ๆ กว่า 100 ประเทศนำไปปฏิบัติได้ผลดี คือ การค้นหารายป่วยใหม่ให้พบเร็วที่สุด และให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อโดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาจนหายจากวัณโรคและไม่แพร่เชื้อต่อไปอีกทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันวัณโรคตำบลฉลุง ปี 2561 ซึ่งจากการดำเนินงานประจำได้ใช้งบประมาณเงินบำรุงของ รพ.สต.ไปแล้วแต่ยังไม่เพียงพอจึงของบของกองทุน สปสช.อบต.ฉลุง เพิ่มเติมขึ้นเพื่อเป็นการควบคุมการแพร่ระบาดโรคในพื้นที่ตำบลฉลุงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์
- ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง
- จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองวัณโรคทุกราย2.กลุ่มป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยการรักษาและได้รับการรักษาตามมาตรฐานจนหายขาดทุกรายจำนวนผู้ป่วยวัณโรคลดลงหรือหมดไปจากชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 3.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 4.สำรวจกลุ่มเป้าหมายวัณโรคพร้อมทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง โดย อสม. 5.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในเกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ 6.ประสานงานกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ผู้รับผิดชอบงานคลินิกผู้ป่วยวัณโรคแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วย เจ้าหน้าที่แผนก x-ray เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ห้อง LAB เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการ ส่งต่อมา x-ray ปอด 7.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 8.อสม.ออกดำเนินการ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค 9.จัดรณรงค์ สัปดาห์คัดกรองวัณโรค โดย อสม. และคณะกรรมการหมู่บ้าน10.สรุปรวบรวมคะแนนแบบคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรค11.เก็บเสมหะ ในกรณีปอดเข้าได้กับโรค ติดต่อกัน 3 วัน 12.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยทุกรายได้รับการรักษาโดยแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษาจนครบกำหนดรักษา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.ออกดำเนินการประชาสัมพันธ์ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 236 ราย
|
80 | 0 |
2. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 3.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 4.สำรวจกลุ่มเป้าหมายวัณโรคพร้อมทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง โดย อสม. 5.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในเกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ 6.ประสานงานกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ผู้รับผิดชอบงานคลินิกผู้ป่วยวัณโรคแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วย เจ้าหน้าที่แผนก x-ray เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ห้อง LAB เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการ ส่งต่อมา x-ray ปอด 7.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 8.อสม.ออกดำเนินการ คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค 9.จัดรณรงค์ สัปดาห์คัดกรองวัณโรค โดย อสม. และคณะกรรมการหมู่บ้าน10.สรุปรวบรวมคะแนนแบบคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรค11.เก็บเสมหะ ในกรณีปอดเข้าได้กับโรค ติดต่อกัน 3 วัน 12.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยทุกรายได้รับการรักษาโดยแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษาจนครบกำหนดรักษา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยที่สนใจ จำนวน 80 คน
|
80 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์และได้รับการรักษาตามมาตรฐาน |
0.00 |
|
||
2 | ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยวัณโรคลดลงเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรควัณโรคในชุมชนให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ (2) ข้อ 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยวัณโรคในพื่้นที่ตำบลฉลุง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม. ออกดำเนินการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยง (2) จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องวัณโรคและการป้องกันในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและผู้ที่สนใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันควบคุมวัณโรค ตำบลฉลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......