กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการตจัดอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วม จำนวน 72 คน ร้อยละ 90.00 ผู้เข้าอบรมมีความรู้ิ ร้อยละ 94 ผลการดำเนินงาน 1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน 96.06 2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน 94.57 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย ไม่เกิรร้อยละ 10 ผลงาน 2.6 4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวาน เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 ผลงาน 1 5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 50 ผลงาน 21.27

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการการคัดกรองความดันโลหิตสุง ร้อยละ 90 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ 90 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 10 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยเป้นโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับหลัก 3 อ. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม    2. สาธิตการออกกำลังกายง่ายๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  3. เรียนรู้การบันทึกการรับประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยน โดยสมุดบันทึกสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh