กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ 61-L4164-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 27 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสอารี แวนาแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.426,101.407place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรคลุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือส่วนใหญ่ต้องรักษาไปตลอดชีวิต ซึ่งนอกจากจะบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพจิตแล้วยังเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจของตัวผู้ป่วยเองและส่งผลถึงเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมด้วยและหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงตามมา ถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงตามมาถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็รภาวะวิกฤตในปัจจุบัน คือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารที่ไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าผู้มีคลอเรสเตอรอลสูง ผู้มีอายุเกิน 35 ปี ผู้ที่ขาดการออกกำลังกายและผู้ที่มีภาวะเครียดสูง อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมสุขภาพไม่ใช้สิ่งที่มีทัศนคตีที่ถูกต้องก็อาจไม่ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ตัวอย่างเช่น คนมีความรู้ว่าการออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพ รวมถึงรู้สึกว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งที่ดีและควรทำ แต่ก็มีคนจำนวนมากที่ไม่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ด้วยเตุผลในเรื่องของเวลา ความขี้เกียจ ความจำกัดด้านสถานที่ เป็นต้น จึงเห็นได้ว่าการปรับเปลี่ยนความรู้และทัศนคตินั้นไม่เพียงพอต่อการปรบเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ผ่านมาบุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบโครงการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภพมักให้ความสำคัญกับการให้ความรู้และปรับทัศนคติเท่านั้น ทำให้ไม่เกิดผลลัพธ์ที่ดี ทีทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพมากมายที่ได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่ออธิบายพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน และสามารถนำมาเป็นแนยวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี / กลุ่มเสี่ยง / ผู้สนใจอื่น ๆ มีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อให้มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชน เพื่อลดควยามเสี่ยงอัมพฤกษ์ ตามหลัก 3อ 2ส
  1. ประชาชนอายุ 35 ปี กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ประชาชนอายุ 35 ปี กลุ่มเสี่ยง ผู้สนใจอื่น ๆ สามารถลดน้ำหนักเป็น Role mode ในการลดน้ำหนักต่อไป
  3. อุบัติการณ์เป็นอัมพฤกษ์ลดลง
  4. มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเนื่อง
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,600.00 0 0.00 13,600.00
1 มี.ค. 61 - 27 ก.ย. 61 คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปีงบประมาณ 2561 0 13,600.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 13,600.00 0 0.00 13,600.00
  1. ประชุมชี้แจงเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการในทุกช่องทาง ผ่านหอกระจายข่าวในทุกหมู่บ้านและสถานบริการ
  3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 3.1 กำหนดตารางในการฟื้นฟูความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ที่สนใจอื่น ๆ 3.2 ดำเนินการอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.3 ประกวดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีเด่น กลุ่มผู้ป่วย สามารถควบคุมโรค อาสาสมัครสามารถลดน้ำหนักได้
  4. สรุปติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนอายุ 35 ปี กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ประชาชนอายุ 35 ปี กลุ่มเสี่ยง ผู้สนใจอื่น ๆ สามารถลดน้ำหนักเป็น Role mode ในการลดน้ำหนักต่อไป
  3. อุบัติการณ์เป็นอัมพฤกษ์ลดลง
  4. มีชมรมคนอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2561 12:04 น.