กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561 ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1520-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุราเป็นต้น จากผลการคัดกรองสุขภาพประชาชนตำบลอ่าวตง อายุ 15 ปี ขึ้นไป ตลอดระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมา จากการติดตามพบว่าในปี 2558-2560พบว่ามีประชากรผู้ป่วยร้อยละ 5.26,5.63 และ 6.95ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงถึงแนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดของประชาชนในพื้นที่ตำบลอ่าวตง มีอัตราสูงขึ้นทุกปี สำหรับผลการเข้ารับการรักษาโรคดังกล่าวที่คลินิกความดัน เบาหวานของโรงพยาบาลรามันในปีที่ผ่านมา พบว่าจำนวนกลุ่มป่วยที่เข้ารับการรักษาโรคมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งเมื่อกลุ่มป่วยได้เข้ารับการรักษาตามแนวทางการรักษาของแพทย์ ประชาชนกลุ่มป่วยส่วนใหญ่มีสุขภาพที่ดีขึ้น ภาวะแทรกซ้อนลดน้อยลง เนื่องจากกลุ่มป่วยได้รับการรักษาโดยการใช้ยาและมีความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมและถูกต้อง ทั้งในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การลดปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคมากยิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่าการรักษาและแก้ปัญหาดังกล่าวเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะในประชาชนกลุ่มป่วยเท่านั้น ส่วนประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่อาจทำให้เปลี่ยนเป็นกลุ่มป่วยได้ภายในระยะเวลาไม่นาน และประชาชนกลุ่มดีอาจเปลี่ยนเป็นกลุ่มเสี่ยงได้ หากประชาชนไม่ตระหนักในการดูแลสุขภาพและยังมีพฤติกรรมสุขภาพตนเองที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งประชาชนทั้งสองกลุ่มถือเป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญและต้องดำเนินการแก้ไขให้ทันท่วงที ด้วยเหตุนี้ ทางกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลรามัน จึงต้องมีการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น โดยร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรวมทั้งประชาชนในหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนลดความเสี่ยงจากกลุ่มโรคหัวใจ และโรคไต มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ๒. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถเป็นแกนนำให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 14 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มพี่เลี้่ยงกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ๒. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถเป็นแกนนำให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ๒. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถเป็นแกนนำให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยงสามารุดูแลสุขภาพตนเองได้
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 กลุ่มเสี่ยงสามารถเป็นต้นแบบแก่ผู้อื่นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด