กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมัทนียาขวัญดี

ชื่อโครงการ โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 พฤศจิกายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7257-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 พฤศจิกายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศการผลิตน้ำกลั่น น้ำบริโภค เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ในการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุขครั้งที่ 54-2/2552 มีมติให้การประกอบกิจการตู้น้ำหยอดเหรียญเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามประกาศฯ ดังกล่าว ซึ่งต้องควบคุมคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคที่กำหนด และนอกจากนี้น้ำยังเป็นสิ่งจำเป็นเพราะมนุษย์ต้องนำน้ำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะน้ำดื่มต้องเป็นน้ำที่สะอาด มีคุณภาพ มิฉะนั้น จะก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย นอกจากนี้น้ำดื่มที่มีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ยังเป็นสาเหตุทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร ปัสสาวะอาหารเป็นพิษ นิ่วในไต ระบบประสาท มะเร็ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนโดยตรง ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้ประกอบอาชีพไม่ได้และกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซึ่งโรคเหล่านี้เราสามารถป้องกันได้โดยการปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะอนามัย

ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ มีตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ จำนวน 30 ตู้ จากปีงบประมาณ2560 ที่ผ่านมา ทางงานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำโครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรคโดยได้มีการสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำดื่มจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญและส่งตรวจยังห้องปฎิบัติการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 7 ตู้ คิดเป็นร้อยละ 23.3ของจำนวนทั้งหมด พบว่ามีเพียง 1 ตู้ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำดื่ม ซึ่งคิดเป็นเป็น ร้อยละ14.3

ดังนั้น จากข้อมูลดังกล่าว งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาคุณภาพน้ำดื่มจากตู้น้ำหยอดเหรียญในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด บริโภคปลอดภัยขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังบริโภค ลดปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อและประชาชนดื่มน้ำที่สะอาด ปลอดภัย และมีสุขภาพดี ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญและตัวแทนผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญที่ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ
  2. 2. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญนำความรู้ที่ได้ไปดูแลตู้น้ำดื่มให้ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูล
  2. เสริมสร้างความรู้ให้แก่ประชาชน
  3. ตรวจประเมิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ผู้เกี่ยวข้องมีองค์ความรู้ ตระหนักต่อปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ

  2. ใช้เป็นแนวทางในการควบคุม ดูแลกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535

  3. ประชาชนทราบและให้ความสำคัญในการใช้บริการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญเพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เสริมสร้างความรู้ให้แก่ประชาชน

วันที่ 24 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และเจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ จำนวน 40 ราย
เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมเรารักสงขลา (อนุสรกำนันเอี่ยมทวีรัตน์) สำนักงานเทศบาลเมืองคอหงส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ

 

40 0

2. สำรวจข้อมูล

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการสำรวจและจัดทำข้อมูลจำนวนตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวนทั้งสิ้น 50 ตู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีฐานข้อมูลตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ ซึ่งระบุที่ตั้งและลักษณะตู้ในแต่ละจุด

 

50 0

3. ตรวจประเมิน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการเก็บตัวอย่างน้ำบริโภคจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ จำนวน 50 ตู้ ภายในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อทำการตรวจวิเคราะห์จากชุดทดสอบอย่างง่าย
โดยมีการตรวจวัดตาพารามิเตอร์ ดังนี้ 1.) ความเป็นกรด - ด่าง 2.) คลอรีนอิสระ
3.) โคลิฟอร์มแบคทีเรีย 4.) ความกระด้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำที่เก็บจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ จำนวน 50 ตู้ ปรากฎว่าไม่มีตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญที่มีคุณภาพผ่านตามเกณฑ์
ซึ่งผลที่ปรากฎทำให้ต้องตระหนักถึงความสำคัญในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ และต้องมีการดำเนินการโครกการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญและตัวแทนผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญที่ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมให้ความรู้ในการดูแลและรักษาคุณภาพน้ำจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ มีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80 2. ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญได้รับการตรวจเฝ้าระวังอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจำนวนตู้ทั้งหมดในเขตเทศบาล
0.00 0.00

 

2 2. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญนำความรู้ที่ได้ไปดูแลตู้น้ำดื่มให้ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : 2. ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญได้มาตรฐานและดูแลให้ถูกสุขลักษณะอย่างน้อย ร้อยละ 80
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญและตัวแทนผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญที่ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ (2) 2. เพื่อให้เจ้าของตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญนำความรู้ที่ได้ไปดูแลตู้น้ำดื่มให้ได้มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูล (2) เสริมสร้างความรู้ให้แก่ประชาชน (3) ตรวจประเมิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมัทนียาขวัญดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด