กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการอบรมให้ความรู้ และการส่งเสริมความฉลาด ทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัย ทางกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วันที่อนุมัติ 26 กุมภาพันธ์ 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 มีนาคม 2561 - 30 มีนาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 1 พฤษภาคม 2561
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสากีนะ มะดามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.771,101.515place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาความฉลาดทางอารามณ์ควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วัยเด็ก โดยเฉพาะเด็กในช่วงวัย 2-5 ปี เนืองจากความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กวัยนี้จะพัฒนาได้มากกว่าในช่วงวัยอื่นๆ เด็กจะซึมซับได้จากสิ่งแวดล้อมรอบข้างผ่านการสังเกตและจากประสบการณ์ตรง เด็กที่ได้รับการพัฒนความฉลาดทางอารมณ์โดยพัฒนาให้รู้จักควบคุมอารมณ์ และการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเองทั้งดีและไม่ดีได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล สถานที่ เวลาและสถานณการณ์จะมีพื้นฐานอารมณ์ที่ดี รู้สึกภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น ซึ่งจะเออื้อให้เด็กประสบความสำเร็จในชีวิต ในทางตรงกันข้ามหากเด็กไม่ได้รับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ก็จะส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็ก เช่น เอาแต่ใจตัวเอง ไม่เห็นอกเห็นใจคนอื่น ไม่มีความอดทน ก้าวร้าว ขาดความรับผิดชอบ หรือทำร้ายผู้อื่นได้
ความฉลาดทางอารมณ์เป็นทักษะที่เกิดขึ้นได้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ การมีแบบอย่างที่ดีควบคู่กับการอบรมสั่งสอน โดยเฉพาะพ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก กิจกรรมมางวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถสร้างและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กได้ เพราะเป็นกิจกรรมที่มีการเปิดโอกาสให้เด็ฏได้เรียนรู้ แสดงอารมณ์ได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งการสอนให้เด็กรู้จักจัดการกับอารมณ์ของตนเอง มีวินัย รู้จักการอดทน รอคอย รู้จักเข้าใจและเห็นใจคนอื่น สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับคนอื่นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานให้เด็กมีการเรียนรุ้จนเกิดการตระหนักรู้ และสร้างคุณลักษณะเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชีวิตสดใส บ้านกูวิง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยาภาพครูผู้ดูแล เด็ก ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้า ใจวิธีการส่งเสริมควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยได้อย่าง เหมาะสม

ร้อยละ 90 ครูผู้ดูปลเด็กมีความรู้ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด้กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม

0.00
2 2.เพื่อให้ครูสามารถนำกิจกรรม การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศา- สตร์เพื่อเสริมสร้างควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยไปใช้ใน แนวทางในการจัดการเรียนการ สอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนา การทางอารมณ์ที่ดี

ร้อยละ 100 ของครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำกิจกรรม/การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัยไปใช้เป็นแนวในการจัดเรียนการสอน

0.00
3 3.เพื่อสร้างเสริมความฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยผ่านกิจ- กรรมทางวิทยาศาสตร์

ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับดี

0.00
4 4.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยก่อนเข้า การทดลองและหลังทดลอง

ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระดับคะแนนความฉลาดทางอารมณ์หลังการทดลองอยู่ในระดับดีกว่าก่อนการทดลอง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,331.00 0 0.00
28 ก.พ. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องพับหรือตัด ก็ทับกันสนิท 0 360.00 -
28 ก.พ. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องไหลค่อย ไหลแรง 0 1.00 -
16 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย การอบรมให้ ความรู้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กเรื่อง ความสำคัญของการส่งเสริมความ ฉลาดทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัย แนวทางการส่งเสริม การประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์ 0 7.00 -
16 มี.ค. 61 2.8 กิจกรรมย่อย เรื่องน้ำ ทราย น้ำมัน 0 374.00 -
16 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องการละลาย ของน้ำตาล 0 1.00 -
16 มี.ค. 61 กิจกรรย่อย เรื่องการหักเหของ น้ำ 0 1.00 -
19 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องความลับของ สีดำ 0 500.00 -
19 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องจรวดหลอด 0 1.00 -
20 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องตัวทำลาย 0 628.00 -
20 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องปั้มขวดและ ลิฟท์เทียน 0 180.00 -
21 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องภูเขาไฟ ระเบิด 0 1.00 -
27 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องสนุกกับ ฟองสบู่ 0 1.00 -
27 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อย เรื่องเนินน้ำ 0 855.00 -
28 มี.ค. 61 กิจกรรม เรื่องเมล็ดพืชเต้น ระบำ 0 420.00 -
30 มี.ค. 61 กิจกรรมย่อยเรื่องกักน้ำไว้ได้ 0 1.00 -

1.ขั้นเตรียมการ 1.1.สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้า หมายเด็กปฐมวัยในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก 1.2.ศึกษาข้อมูลทางด้าน ครอบครัวที่มีผลต่อการ พัฒนาเด็กเล็ก 1.3.จัดทำโครงการเพื่อ เสนอขออนุมัติ 1.4.ขออนุมัติโครงการต่อ กองทุนฯ 2.ขั้นดำเนินการ 2.1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครอง ครู้ผู้ดูแลเด็ก 2.2.จัดกิจกรรมทางวิทยา ศาสตตร์โดยครูผู้ดูแลเด็ก สัปดาห์ละ 3 ครั้ง2.3.ประเมินผลโดยใช้ แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัย พร้อมเปรีบยเทียบระดับ คะแนนก่อนและหลังการ ทดลอง 3.สรุปผลและประเมินผล การดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครูผู้ดูแลเด็ก ผุ้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมความ ฉลาดทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัย ได้อย่างเหมาะสม 2.ครูสามารถนำกิจกรรมการจัด ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อ เสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ ในเด็กปฐมวัยไปใช้ในทางการจัด การเรียนการสอน ซึ่งจะเป็นประ- โยชน์ในการส่งเสริมห็เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการทางอารมณ์ที่ดี 3.เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจาก การสังเกต การทดลอง การลงมือ ปฏิบัติผ่านกิจกรรมทางวิทยาศา- สตร์และสามารถแสดงออกทาง อารมณ์ได้อย่างเหมาะสม 4.สามารถเปรียบเทียบความแตก ต่างของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยก่อนการ ทดลองและหลังการทดลองทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่งจะเป็นข้อมูลใน การส่งเสริมพัฒนาหรือแก้ปัญหา ในเด็กเป็นรายบุคคลได้ดียิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2561 12:43 น.