กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8403-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8403-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนหมู่ที่ 6 บ้านหินเกลี้ยง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีประชากรในชุมชนทั้งหมด 581 คน มีผู้สูงอายุ 145 คน คิดเป็นร้อยละ 24.95 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งถือว่าเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ตามนิยามขององค์การสหประชาชาติคือ สังคมที่มีผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ถือเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged society) (สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร,2544) ทั้งนี้ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีปัญหาด้านสุขภาพที่ต้องได้รับการดูแลและต้องพึ่งพาผู้อื่นโดยพบว่าในพื้นที่มีอัตราส่วนผู้มีภาวะพึ่งพาต่อประชากรวัยแรงงาน 1:1 (๋JHCIS รพ.สต.ท่าข้าม,2560) ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ.2558 ที่มีอัตราส่วนผู้มีภาวะพึ่งพาต่อประชากรวัยแรงงาน 1:2
การลงพื้นที่สำรวจผู้สูงอายุจำนวน 76 คนจากทั้งหมด 145 คน ของนักศึกษาพยาบาลด้วยแบบประเมินภาวะสุขภาพและภาวะพึ่งพาของผู้สูงอายุพบว่า ผู้สูงอายุมีภาวะโรคความโลหิตสูงร้อยละ 67.92 ปวดเมื่อยตามร่างกายร้อยละ54.09 โรคอ้วนร้อยละ 39.47 เสี่ยงต่อโรคสมองเสื่อมร้อยละ 38.00 ไขมันในเลือดสูงร้อยละ 22.64 ไม่ได้ออกกำลังกายในระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านร้อยละ 35.52 และมีภาวะพึ่งพาด้านการทำกิจวัตรประจำวันแบบต่อเนื่องนอกบ้านร้อยละ 43.42 ซึ่งปัญหาเหล่านี้หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองในอนาคต นำไปสู่ภาวะพึ่งพาที่สูงขึ้นอีกทั้งวิถีการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำสวนยางพารา ทำนา และปลูกพืชผักต่างๆ โดยมีท่าทางอิริยาบถในการทำงานที่ไม่เหมาะสมเป็นระยะเวลานานอย่างต่อเนื่อง อันส่งผลให้เกิดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายดังข้างต้น จากการประชาคมร่วมกัน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2560 ที่ประชุมได้เล็งเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุและผู้ที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุ จึงจัดโครงการ "หินเกลี้ยง เขวี้ยงโรคด้วย exercise" โดยมีรูปแบบกิจกรรมที่นำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกันการยืดเหยียด และนวัตกรรมทางการพยาบาลมาประยุกต์ใช้กับการออกกำลังกายในครั้งนี้ อันได้แก่ 1)กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ซึ่งช่วยให้หลอดเลือดเกิดการขยายตัว เพิ่มการเผาผลาญพลังงานและไขมันส่วนเกิน มีผลทำให้ความดันโลหิต และไขมันในเลือดลดลง ช่วยให้การทรงตัวและการทำงานของอวัยวะต่างๆ ประสานกันได้ดี 2) ท่าทางที่ถูกต้องในการทำงาน และการบริหารข้อเข่า ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่น สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ สามารถลดอาการเจ็บปวด ทำให้มีกำลังมากขึ้นและ 3) นันทนาการฝึกสมอง ช่วยให้ผู้สูงอายุได้ฝึกการใช้ความคิด ป้องกันภาวะสมองเสื่อมได้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับท่าทางการออกกำลังกาย การบริหารข้อเข่า และท่าทางในการทำงานที่ถูกวิธี และสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ดังนั้น ทางคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหินเกลี้ยง ต.ท่าข้าม จึงร่วมกับ กลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่ 4 กลุ่ม 04/2 และ 04/3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงขอความอนุเคราะห์ฺในการจัดสรรงบประมาณโครงการ "หินเกลี้ยง...เขวี้ยงโรค" จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าข้าม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้ถูกต้อง
  2. 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารข้อเข่าและ สามารถบอกท่าทางที่ถูกต้องในการทำงานได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการนำท่าฝึกสมองไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความโลหิตสูง
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
    3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้ออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    4. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายและฝึกการยืดเหยียดด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสามารถนำไปเผยแพร่ให้แก่บุคคลอื่นได้
    5. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มาพบปะกันและทำกิจกรรมร่วมกันเกิดเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลท่าข้ามสัญจรบ้านหินเกลี้ยง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถสาธิตย้อนกลับ การออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้ถูกต้อง วิธีการประเมิน สังเกตขณะสาธิตย้อนกลับ แนะนำให้ปรับปรุงในท่าที่ไม่ถูกต้อง เครื่องมือ แบบบันทึกการสังเกตรายบุคคล
    0.00

     

    2 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารข้อเข่าและ สามารถบอกท่าทางที่ถูกต้องในการทำงานได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตการบริหารข้อเข่าและเลือกท่าทางการทำงานได้ถูกต้อง วิธีการประเมิน สังเกตขณะสาธิตย้อนกลับ แนะนำให้ปรับปรุงในท่าที่ไม่ถูกต้อง เครื่องมือ แบบบันทึกการสังเกตรายบุคคล
    0.00

     

    3 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการนำท่าฝึกสมองไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการบอกว่าจะนำท่าฝึกสมองไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ เช่น นำกิจกรรมกรรไกร ไข่ ผ้าไหมไปเล่นกับหลาน นำท่าจีบแอลไปทำเองที่บ้าน วิธีการประเมิน สอบถามหลังการฝึก เครื่องมือ แผ่นกระดาษบันทึกผลคำตอบ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้ถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารข้อเข่าและ สามารถบอกท่าทางที่ถูกต้องในการทำงานได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการนำท่าฝึกสมองไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหินเกลั้ยง เขวี้ยงโรค จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L8403-2-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด