กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาบารีอะ สามะแอ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2561 ถึง 21 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-3-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มิถุนายน 2561 - 21 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,632.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโรไวรัส ทำให้มีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และภายในปาก และสร้างความเจ็บปวด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ร่วมกับอาการป่วยอื่น ๆ ด้วย เช่น ไอ เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี แต่สามารถเกิดกับเด็กโตและผู้ใหญ่ได้เช่นกัน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นและหายป่วยภายในเวลาประมาณ 7-10 วัน อาการของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากมีระยะฟักตัว 3-6 วัน โดยหลังจากได้รับเชื้อ ผู้ป่วยจะเริ่มมีไข้สูง 38-39 องศาเซลเซียสเจ็บคอ ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง และอ่อนเพลีย หลังจากมีไข้ 1-2 วัน จะเริ่มมีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และบริเวณปากทั้งภายนอกและภายในตามมา สาเหตุของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ส่วนใหญ่เกิดจากไวรัสสายพันธุ์ค็อกซากี้ เอ16 (Coxsackie A16 Virus) และบางส่วนอาจเกิดจากเอนเทอโรไวรัส 71 (Enterovirus 71) โดยเชื้อไวรัสสามารถติดต่อกันได้ผ่านการไอหรือจาม การสัมผัสของเหลวหรือของเสียที่ปนเปื้อนเชื้อ นอกจาก 2 สายพันธุ์นี้ ยังมีไวรัสสายพันธุ์อื่น ๆ ที่สามารถเป็นต้นเหตุของโรคมือเท้าปากได้ คือ กลุ่มเอนเทอโรไวรัส เช่น กลุ่มโปลิโอไวรัส (Polioviruses) กลุ่มค็อกซากี้ไวรัส (Coxsackieviruses) กลุ่มเอ็กโค่ไวรัส (Echoviruses) และกลุ่มเอนเทอโรไวรัสชนิดอื่น ๆ (Enteroviruses) การรักษาโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดในทันที หากป่วยด้วยโรคนี้ ผู้ป่วยควรพักรักษาตัวอยู่ที่บ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดูแลอาการหรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการป่วย แล้วรอจนกว่าอาการเหล่านั้นจะหายไป แต่หากอาการป่วยไม่บรรเทาลง มีอาการป่วยที่ยิ่งทรุดหนัก หรือมีอาการแทรกซ้อนอย่างอื่นเกิดขึ้นอีก ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป ภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปาก อาการส่วนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นหลังจากป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก คือ ภาวะขาดน้ำ เพราะการป่วยทำให้เกิดแผลอักเสบภายในปากและลำคอ ทำให้กลืนลำบากและสร้างความเจ็บปวดขณะกลืนน้ำหรืออาหาร ส่วนอาการอื่น ๆ ที่อาจพบตามมา มักเป็นอาการป่วยทั่วไปที่ไม่รุนแรง ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่มีโอกาสพบได้น้อยมาก คือ อาการเล็บมือเล็บเท้าหลุด หรือภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส และภาวะสมองอักเสบ การระบาดของโรคมือ-เท้า-ปาก ในประเทศไทยในขณะนี้แม้ส่วนใหญ่จะเป็นชนิดอาการไม่รุนแรง แต่อย่างไรก็ดีต้องระวังอาการข้อมูลเฝ้าระวังโรคจากสำนักระบาดวิทยา ปี 2560 ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 พบผู้ป่วย 17,575 รายจาก 77 จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 26.86 ต่อแสนประชากร อายุที่พบมากที่สุดเรียงลำดับคือ 1 ปี (26.90%)2 ปี (23.40%)3 ปี (17.35%) ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ให้โรคแพร่กระจาย และลดการป่วยของเด็กจึงได้จัดทำโครงการโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยขึ้น พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากที่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
  2. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจาก มือ เท้า ปาก ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย
  3. เพื่อให้ครู, ครูผู้ดูแลเด็ก, ผู้ปกครอง และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก ศพด.บ้านกาแย
  4. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากใน ศพด.บ้านกาแย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองของเด็กและเด็กเรื่องโรคมือเท้าปาก และโรคระบาดต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. ติดตามเด็กในเรื่องความสะอาดและตรวจสุขภาพทุกเช้าก่อนเริ่มทำการเรียนการสอน ทุก ๆ วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง,ครู,ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศพด.บ้านกาแย มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคมือเท้าปากมากขึ้น
  2. ผู้ปกครอง,ครู,ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศพด.บ้านกาแย สามารถป้องกันและควบคุม โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างถูกวิธี
  3. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคระบาด เช่นโรคมือเท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองของเด็กและเด็กเรื่องโรคมือเท้าปากและโรคระบาดต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. ติดตามเด็กในเรื่องความสะอาดและตรวจสุขภาพทุกเช้าก่อนเริ่มทำการเรียนการสอน ทุก ๆ วัน

วันที่ 26 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมตรวจและคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยอย่างเข้ม     - การป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากแก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก     - การป้องกันและควบคุมโรคทั่วไป 2.การดูแลรักษาและปฏิบัติตนเบื้องต้นเมื่อเด็กเจ็บป่วย 3.หลักโภชนาการที่ถูกสุขลักษณะอนามัยที่ดี 4.การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อร้ายแรงในเด็กอื่น ๆ เช่น โรคหวัด  โรคตาแดง  โรคอีสุกอีใส  โรคอ้วน  โรคติดเชื้อต่าง ๆ เป็นต้น 5.  เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเด็กที่มีอายุ  3 – 4 ปี  ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมาเกี่ยวกับโรคระบาดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6.ประสานงานจัดหาวิทยากรให้ความรู้โรคมือเท้าปาก  และโรคระบาดต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง  คณะกรรมการ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย 8. ติดตามเด็กในเรื่องความสะอาดและตรวจสุขภาพทุกเช้าก่อนเริ่มทำการเรียนการสอนทุกวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคมือ เท้า ปาก ขึ้นกับเด็กมากขึ้น
2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย สามารถป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ได้ 3.สามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่ออื่นๆ ลดลงส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

 

72 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
50.00 56.00

 

2 เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจาก มือ เท้า ปาก ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย
ตัวชี้วัด : ไม่มีเด็กที่เป็นโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย
0.00

 

3 เพื่อให้ครู, ครูผู้ดูแลเด็ก, ผู้ปกครอง และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก ศพด.บ้านกาแย
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.บ้านกาแย มีความรู้ และวิธีป้องกันจากโรคมือเท้าปากมากขึ้น
72.00

 

4 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากใน ศพด.บ้านกาแย
ตัวชี้วัด : ไม่มีเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) (2) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจาก  มือ  เท้า  ปาก  ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย (3) เพื่อให้ครู, ครูผู้ดูแลเด็ก,  ผู้ปกครอง  และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  มีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ  เท้า  ปาก  และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ  เท้า  ปากในเด็ก  ศพด.บ้านกาแย  (4) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ  เท้า  ปากใน ศพด.บ้านกาแย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองของเด็กและเด็กเรื่องโรคมือเท้าปาก  และโรคระบาดต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. ติดตามเด็กในเรื่องความสะอาดและตรวจสุขภาพทุกเช้าก่อนเริ่มทำการเรียนการสอน ทุก ๆ วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซาบารีอะ สามะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด