กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาซียะห์ ดอแม็ง

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-37 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กันยายน 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-3-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กันยายน 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,194.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุสุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ1 – 3 ปีสาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัยอย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันส่งผลให้เด็กได้รับการดูแลเอาใจใส่น้อยลงเด็กส่วนหนึ่งต้องมีปัญหาสุขภาพอนามัยซึ่งส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของเด็กในด้านสติปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้โรคฟันผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่พบมากอีกทั้งฟันผุในฟันน้ำนมมีการลุกลามถึงโพรงประสาทฟันได้อย่างรวดเร็วกว่าฟันแท้เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันน้อยกว่าฟันแท้และฟันผุในระยะแรกแรกสามารถลุกลามเป็นรูผุได้ในเวลา6 – 12เดือนเด็กที่เริ่มมีฟันผุในอายุน้อยมีการลุกลามได้เร็วและเริ่มผุในช่วงขวบปีแรกอัตราการผุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่ การควบคุมอาหารหวาน และการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์วันละ ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆ เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของครอบครัว อสม.ชุมชน รวมทั้งครอบครัว(ผู้ปกครอง)ต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อย การเกิดฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วยกล่าวคือฟันน้ำนมที่เสียถูกถอนหรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวนเกล้มเอียงเข้าหาช่องว่างทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติอาจจะขึ้นมาในลักษณะปิดซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็กซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมได้ตระหนักถึงความสำคัญในการการส่งเสริมดูแลสุขภาพฟันและการป้องกันโรคในช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันและช่องปากที่แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันดีของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ในการดูแลช่องปากและฟันของเด็กให้ฟันดีห่างไกลโรคฟันผุอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ผู้ปกครอง ในเรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็กและผู้ปกครอง
  4. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดี และมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย โภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน 2.จัดให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน 3.ร่วมกันจัดทำสื่อฟันกับชุมชน และผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
  2. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  4. ผู้ปกครองครูและครูผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีมีความรู้และทักษะในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียนและการให้โภชนาที่ถูกต้องสำหรับเด็กตามวัย
  5. มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรณรงค์การป้องกันฟันผุ
  6. อัตราของการเกิดฟันผุลดลงในเด็กก่อนวัยเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย โภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน 2.จัดให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน 3.ร่วมกันจัดทำสื่อฟันกับชุมชน และผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

วันที่ 26 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย โภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน และชี้แจงโครงการ  แก่ผู้ปกครอง  คณะกรรมการ ศพด. บ้านน้ำหอม  ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  และครูสอนศาสนา 2.จัดให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน  โดยมีผู้ปกครองครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  เป็นผู้ควบคุมในการแปรงฟันอย่างถูกต้อง 3. ร่วมกันจัดทำสื่อฟันกับชุมชน  และผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการ ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  และครูสอนศาสนา ศพด.บ้านน้ำหอม  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย 2.  ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการ ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  และครูสอนศาสนา ศพด.บ้านน้ำหอม  มีทักษะ และมีสุขนิสัยในการดูแลช่องปากให้แก่เด็ก 3. ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการ ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก  และครูสอนศาสนา ศพด.บ้านน้ำหอม  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟันเด็ก 4.  ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

 

54 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)
100.00 40.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ผู้ปกครอง ในเรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ เรื่องทันตอนามัยมากขึ้น ลดปัญหาฟันผุให้กับลูก
40.00

 

3 เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็กและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีทักษะ และมีสุขนิสัย ในการดูแล ทำความสะอาดช่องปากให้กับเด็กเป็นประจำทุกวัน
40.00

 

4 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดี และมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดฟันผุในเด็กลดลง
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (2) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ผู้ปกครอง  ในเรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย  (3) เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็กและผู้ปกครอง (4) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดี  และมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย โภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน 2.จัดให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน 3.ร่วมกันจัดทำสื่อฟันกับชุมชน  และผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยฟันดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-37

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาซียะห์ ดอแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด