กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมูบิง ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-40 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2561 ถึง 30 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-3-40 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2561 - 30 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,842.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเยี่ยมบ้านกลุ่มคนพิการผู้สูงอายุผู้ป่วยเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน เป็นการบริการด้านสุขภาพในเชิงรุกอีกวิธีหนึ่ง เป็นกลวิธีที่มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในยุคปัจจุบัน ในปัจจุบันมีกลุ่มผู้พิการผู้สูงอายุผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยติดเตียงเป็นจำนวนมาก ตำบลดุซงญอเป็นชุมชนใหญ่มีผู้พิการผู้สูงอายุผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยติดเตียงจำนวน4รายที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้และผู้ป่วยติดบ้าน จำนวน 18คน รวมทั้งหมด 22 คนซึ่งเป็นปัญหาในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย และจิตใจ การเยี่ยมบ้านเป็นการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนและทำความเข้าใจกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยติดเตียง เพื่อที่จะได้หาแนวทางแก้ไขให้เหมาะสมกับวิถีของชุมชน การเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียงถือเป็นการประเมินสุขภาพของประชาชนและการป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวบุคคลและการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะโรคแทรกซ้อนของการที่เกิดโรคขึ้นมาใหม่และเป็นการสร้างขวัญกำลังใจด้วย ผู้ป่วยนอนติดเตียงส่วนใหญ่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย และมีแนวโน้มผู้ป่วยจำนวนมากขึ้น บางรายมีแผลกดทับบางรายต้องให้อาหารทางสายยาง การดูแลผู้ป่วยที่นอนติดเตียงที่บ้านจึงต้องอาศัยบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถพร้อมทั้งอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสะอาดสะดวกปลอดภัย กับผู้ป่วย เป้าหมายสูงสุดต้องมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีสมเกียรติมีศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์ ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการพ.ศ.2560ลงวันที่2มีนาคม 2560 ข้อ 1 ได้กำหนดให้ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนที่มีสิทธิขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อดำเนินกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกต้องเป็นศูนย์ที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ (1) จัดตั้งและกำกับหรือดำเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานของรัฐ (2) บริหารจัดการโดยคณะกรรมการซึ่งอาจบริหารเป็นอิสระจากหน่วยงานที่จัดตั้งหรือ ดำเนินการก็ได้ทั้งนี้ให้คณะกรรมการมีองค์ประกอบจากภาคส่วนต่าง ๆ ในท้องถิ่นหรือพื้นที่เช่นบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาสาสมัครผู้สูงอายุคนพิการผู้ทรงคุณวุฒิเป็นต้น (3) มีที่ทำการหรือสถานที่ติดต่อเพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงาน และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและการขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓ กำหนดให้ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสการจัดสวัสดิการสังคมเป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้าน สังคมและคุณภาพชีวิตซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจึงมีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสผู้ยากไร้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทความพร้อมด้านทรัพยากรชุมชนท้องถิ่นที่มีอยู่ซึ่งการจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆต้องทำเป็นการทำงานแบบพหุภาคีนั้น ดังนั้นศูนย์ส่งเสริมฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุคนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ตำบลดุซงญอ จึงได้บูรณาการร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ในการบริการสวัสดิการทางสังคมโดยการออกเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียงติดบ้าน กลุ่มผู้ป่วยต่าง ๆ ในตำบลดุซงญอ และได้เล็งเห็นว่าหากผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้มีทักษะการดูแลผู้ป่วยโดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง และได้รับการฟื้นฟูอย่างถูกต้องต่อเนื่องผู้ป่วยจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขและเสียชีวิตอย่างมีคุณค่า จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียงติดบ้าน ในตำบลดุซงญอขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยนอนติดเตียง(Home Ward / Home Care) และเสริมสร้างความรู้ให้กับผู้ดูแลมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อดูแลสร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในตำบลดุซงญอ
  2. เพื่ออบรมเสริมความรู้ เพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยนอนติดเตียง ติดบ้าน สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องการนวดแผนไทย หรือกายภาพบำบัดให้แก่ญาติผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง 2. ดำเนินการออกเยี่ยมและสำรวจค้นหาผู้ป่วยนอนติดเตียงรายใหม่ และออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และติดบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 22
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านสามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยได้
  2. ผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านมีความรู้เรื่องการทำกายภาพบำบัดและการดูแลตนเองมากขึ้น
  3. ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านมีความรู้ในการทำกายภาพบำบัดและมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านอย่างถูกวิธีมากขึ้น
  4. ผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านได้รับการเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพทุกคน
  5. ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ได้รับการส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสุขภาพได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องทุกคน
  6. เกิดศูนย์การเรียนรู้และประสานงานในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงติดบ้านของผู้ดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุคนพิการอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องการนวดแผนไทย หรือกายภาพบำบัดให้แก่ญาติผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง 2. ดำเนินการออกเยี่ยมและสำรวจค้นหาผู้ป่วยนอนติดเตียงรายใหม่ และออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และติดบ้าน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฯ จนท.ที่เกี่ยวข้อง 3.เขียนโครงการนำเสนอ เพื่อขอนุมัติงบประมาณ 4.ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์ จนท.ร่วมดำเนินงาน 5.ประสานติดต่อวิทยากรในการอบรมให้ความรู้เรื่องการนวดแผนไทย กายภาพบำบัด 6.ดำเนินการสำรวจค้นหาผู้ป่วยนอนติดเตียงรายใหม่ ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน 7.จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์สำหรับการออกเยี่ยมผู้ป่วย 8.ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 9.คณะกรรมการศูนย์ฯ พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ออกเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพพร้อมทั้งบันทึกแบบการตรวจเยี่ยม 10.สรุปและรายงานประเมินผลโครงการ โดยประเมินความพึงพอใจในการออกเยี่ยม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยได้ 2.ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน มีความรู้เรื่องการทำกายภาพบำบัดและการดูแลตนเองมากขึ้น 3.ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน มีความรู้ในการทำกายภาพบำบัด และมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านอย่างถูกวิธี 4.ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านได้รับการเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพทุกคน 5.ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ได้รับการส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องทุกคน 6.เกิดศูนย์การเรียนรู้และประสานงานในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ของผู้ดูแลช่วยเหลือ ผู้สูงอายุ คนพิการ อย่างต่อเนื่อง

 

22 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อดูแลสร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในตำบลดุซงญอ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการทำกายภาพบำบัด ฟื้นฟูร่างกาย
22.00

 

2 เพื่ออบรมเสริมความรู้ เพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแล ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีทักษะในการดูแลผู้ป่วยที่ถูกวิธีมากขึ้น
22.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยนอนติดเตียง ติดบ้าน สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดลง และสามารถช่วยเหลือตนเองได้
22.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 22
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 22
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดูแลสร้างเสริมสุขภาพ  ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง  ติดบ้านในตำบลดุซงญอ  (2) เพื่ออบรมเสริมความรู้  เพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง  ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้ผู้ป่วยนอนติดเตียง  ติดบ้าน  สามารถฟื้นฟู  สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ  สามารถช่วยเหลือตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่องการนวดแผนไทย หรือกายภาพบำบัดให้แก่ญาติผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง 2. ดำเนินการออกเยี่ยมและสำรวจค้นหาผู้ป่วยนอนติดเตียงรายใหม่ และออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และติดบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-40

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลมูบิง ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด