กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาบารีอะ สามะแอ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-42 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2561 ถึง 2 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-3-42 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2561 - 2 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,632.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคตาแดง (Conjunctivitis) เป็นโรคทางตาที่พบได้บ่อยที่สุด สามารถพบได้ในทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เด็กเล็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้ใหญ่ ตลอดจนผู้สูงอายุ และมักเกิดในโรงเรียน โรงพยาบาล ที่ทำงาน สถานเลี้ยงเด็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีผู้คนอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก และ โรคตาแดง มักจะระบาดในช่วงฤดูฝน และระยะเวลาของโรคจะเป็นประมาณ 5-14 วัน ถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อนอย่างอื่น ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น โรคตาแดงจากเชื้อไวรัส เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุตาจากการติดเชื้อไวรัส เป็นกลุ่มอาดิโนไวรัส (Adenovirus) เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด มักพบในช่วงฤดูฝน หรือน้ำท่วม และมักเกิดกับเด็กเล็ก ๆ จะมีอาการตาแดง เคืองตา ตาขาวจะมีสีแดงเรื่อ ๆ เพราะมีเลือดออกที่เยื่อบุตาขาว น้ำตาไหลเจ็บตา มักจะมีขี้ตามากร่วมด้วย โดยอาจเป็นเมือกใสหรือสีเหลืองอ่อน จากการติดเชื้อแบคทีเรียมาพร้อมกัน ต่อมน้ำเหลืองหลังหูมักเจ็บและบวม มักเป็นที่ตาข้างใดข้างหนึ่งก่อน แล้วจะติดต่อมายังตาอีกข้างได้ภายใน 1-2 วัน โรคตาแดงจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นการอักเสบของเยื่อบุตาที่เกิดจากการติดเชื้อ S.epidermidis, S.aureus ซึ่งก็ทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุตาเช่นเดียวกับเชื้อไวรัส จะมีอาการตาแดง เคืองตา เจ็บตา มีขี้ตามากลักษณะข้น ๆ แบบหนอง เวลาตื่นนอนตอนเช้ามักมีขี้ตามากจนทำให้เปลือกตาติดกัน แต่อาการจะไม่เฉียบพลันและรวดเร็วเท่าโรคตาแดงจากเชื้อไวรัส โรคตาแดงจากภูมิแพ้ (Allergic Conjunctivitis) เป็นการอักเสบของเยื่อบุตาที่เกิดจากการแพ้ เช่น แพ้เกสรดอกไม้ ฝุ่น ยา ควันบุหรี่ เป็นต้น มักจะเป็น ๆ หาย ๆ บางคนเมื่อเป็นตาแดงแล้วจะมีอาการแทรกซ้อน คือ เคืองตามาก ลืมตาไม่ค่อยได้ มักมีอาการกระจกตาอักเสบแทรกซ้อน ซึ่งจะดีขึ้นได้ประมาณ 3 สัปดาห์ หรือบางรายเป็น 1-2 เดือน ทำให้ตามัวพร่าอยู่เป็นเวลานาน นอกจากนี้ ในบางคนอาจเป็นตาดำอักเสบ จะมีอาการตามัวลงทั้ง ๆ ที่อาการตาแดงดีขึ้นมากแล้ว หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจเป็นอยู่นานหลายเดือน โรคตาแดง สามารถติดต่อได้ง่าย ๆ โดย การคลุกคลีใกล้ชิด หรือสัมผัสกับผู้ป่วยโรคตาแดง ซึ่งเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดการติดต่อ โรคตาแดง จากการสัมผัสน้ำตาของผู้ป่วยที่ติดมากับนิ้วมือ และแพร่จากนิ้วมือมาติดที่ตาโดยตรง การใช้เสื้อผ้า หรือสิ่งของร่วมกับผู้ป่วย ฝุ่นละออง หรือน้ำสกปรกเข้าตา แมงหวี่ หรือแมลงวันตอมตาไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะมือและใบหน้าโรคตาแดง จะไม่ติดต่อทางการสบสายตา ทางอากาศ หรือรับประทานอาหารร่วมกัน และอาการต่าง ๆ จะเกิดได้ภายใน 1-2 วัน และระยะการติดต่อไปยังผู้อื่นประมาณ 14 วัน ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในปี 2559 นี้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 23 พฤษภาคม 2559 ทั่วประเทศพบผู้ป่วยแล้ว 47,410 ราย และช่วงที่ฝนตกชุกเกือบทุกภาค บางพื้นที่มีน้ำท่วมขัง การระบาดของโรคตาแดงจากเชื้อไวรัสเนื่องจากสภาพอากาศที่ชื้นแฉะ เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัส ได้ง่าย
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจึงจัดทำโครงการ โรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยขึ้นเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคตาแดง ให้กับครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นแนวทางในการป้องกัน และสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ในกรณีเกิดโรคตาแดงขึ้นกับเด็กนักเรียน และสามารถป้องกันการติดต่อ ไปสู่บุคคลอื่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ตระหนักถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคตาแดงและสามารถป้องกันควบคุมโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยได้
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคตาแดง และรู้วิธีการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคตาแดง
  3. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงและโรคติดต่ออื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคตาแดง ให้้กับผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ได้ตระหนักถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคตาแดงและสามารถป้องกันควบคุมโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยได้
  2. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคตาแดง และรู้วิธีการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคตาแดงมากขึ้น
  3. สามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงและโรคติดต่ออื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคตาแดง ให้้กับผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย

วันที่ 26 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อเขียนโครงการ
2.ประชุมวางแผน การดำเนินงาน
3. เสนอโครงการให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลดุซงญอเพื่อขออนุมัติ
4.ดำเนินการ จัดอบรมผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย 5.ติดตามและประเมินผลโครงการ
6.สรุปผลและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคตาแดงขึ้นกับเด็กมากขึ้น
2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย สามารถป้องกันและควบคุมโรคตาแดงได้ 3.สามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงและโรคติดต่ออื่นๆ ลดลงส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

 

72 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ตระหนักถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคตาแดงและสามารถป้องกันควบคุมโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเกิดโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านรือเปาะ
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคตาแดง และรู้วิธีการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคตาแดง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ครู และคกก.ศพด.บ้านกาแย มีความรู้ และวิธีการดูแลรักษาเมื่อเกิดโรคตาแดง
72.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงและโรคติดต่ออื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย ตระหนักถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคตาแดงและสามารถป้องกันควบคุมโรคตาแดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแยได้  (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีป้องกันโรคตาแดง และรู้วิธีการดูแลรักษาเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคตาแดง  (3) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคตาแดงและโรคติดต่ออื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคตาแดง ให้้กับผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคตาเเดงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาแย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-3-42

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซาบารีอะ สามะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด