กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป


“ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายพิสิฐ ฮะยีบิลัง

ชื่อโครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป



บทคัดย่อ

โครงการ " แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,840.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความพิการ เป็นสถานะทางสุขภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งแสดงออกมาในลักษณะของการสูญเสียความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ ในการดำรงชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาสุขภาพอื่นๆ เช่น การเจ็บป่วย การได้รับบาดเจ็บ ในกระบวนฟื้นฟูสมรรถภาพ อาจประกอบด้วยการใช้วิธีต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการจัดหาและการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ และบริการที่สนับสนุนการดำรงชีวิต การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการ แต่ในทางปฏิบัติผู้พิการยังมีไม่ได้รับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยังไม่ได้รับการฟื้นฟูทุกด้านอย่างจริงจังจากภาครัฐและสังคม ถึงแม้ภาครัฐจะมีโครงการต่างๆ มากมายเพื่อช่วยช่วยเหลือผู้พิการ แต่บางครั้งอาจไม่ตรงตามความต้องการของผู้พิการอย่างแท้จริง จึงไม่เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของเขา ผู้พิการบางคนอยู่ห่างไกล มีฐานะยากจน เข้าไม่ถึงความช่วยเหลือจากภาครัฐ ด้วยบริบทของพื้นที่เป็นสังคมชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง และรับจ้างรายวัน ช่วงกลางวันจะมีแต่ผู้สูงอายุและผู้พิการที่ไม่สามารถไปไหนได้อยู่บ้าน ผู้พิการส่วนใหญ่เป็นผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว มีทั้งเป็นมาแต่กำเนิดและเกิดขึ้นภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุ หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรคต่างๆ ความพิการได้ส่งผลต่อชีวิตประจำวัน คือผู้พิการไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เองทั้งหมด ทำให้ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงญาติ หรือผู้ดูแล บางคนต้องถูกทอดทิ้งให้อยู่บ้านคนเดียวในตอนกลางวัน โดยญาติ หรือผู้ดูแลเตรียมหาอาหารข้าวของเครื่องใช้วางใกล้ๆ ที่สามารถหยิบเองได้ การเข้าถึงการให้บริการด้านสุขภาพน้อยเนื่องจากลำบากในการเดินทาง ประกอบกับฐานะยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ถ้าเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ก็จะรักษากันเอง ผู้พิการส่วนใหญ่ขาดการฟื้นฟูด้านร่างกาย การได้รับกายอุปกรณ์ไม่ตรงกับความต้องการและสภาพของผู้พิการ การดูแลช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน ซึ่งพบว่ายังมีน้อย จะดูแลกันเองในครอบครัวเท่านั้น การได้รับสวัสดิการต่างๆ ไม่ทั่วถึง ส่วนใหญ่ได้รับเพียงสวัสดิการด้านรักษาพยาบาล และได้รับเบี้ยยังชีพและเงินช่วยเหลือครอบครัว ตำบลตันหยงโป แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 หมู่บ้าน มีประชากร 3,728 คน มีผู้พิการทุกประเภทจำนวน 33 คน ในจำนวนนี้มีผู้พิการจากอุบัติเหตุ พิการแต่กำเนิด พิการจากสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ไม่สามารถเดินได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องเป็นภาระกับครอบครัว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ได้ดำเนินการสำรวจผู้พิการ ติดตามดูแลผู้พิการที่ไม่สามราถเข้ารับการรักษาพยาบาลดดยการเยี่ยมบ้าน แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ครอบคลุมทุกด้าน จึงได้จัดทำโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุฝ่ายในการแก้ปัญหาเพื่อก่อให้เกิดรูปแบบความร่วมมือจากทุกฝ่าย โดยเฉพาะความร่วมมือจากครอบครัวและชุมชนในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ตลอดจนการให้คำแนะนำปรึกษาผู้ดูแลผู้พิการแบบมีส่วนร่วมและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้อาสาสมัครและผู้ดูแล หรือญาติ มีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี
  2. 2. เพื่อให้ผู้พิการ ได้มีรูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างมีรูปแบบและขั้นตอนที่ถูกต้อง
  3. 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้พิการลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับ และข้อติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการ หรือญาติ มีความรู้ มีทักษะ สามารถให้การดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ หลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยอาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการ หรือญาติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้อาสาสมัครและผู้ดูแล หรือญาติ มีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้ผู้พิการ ได้มีรูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างมีรูปแบบและขั้นตอนที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้พิการลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับ และข้อติด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้อาสาสมัครและผู้ดูแล หรือญาติ มีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี (2) 2. เพื่อให้ผู้พิการ ได้มีรูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างมีรูปแบบและขั้นตอนที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้พิการลงโดยเฉพาะเรื่องการเกิดแผลกดทับ และข้อติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลตันหยงโป จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพิสิฐ ฮะยีบิลัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด