กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต ”

ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสากีเราะฮ์บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต

ที่อยู่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-4149-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-4149-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 380,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมาลาเรีย ยังเป็นโรคสำคัญที่ทำให้ประชาชนของโลกเจ็บป่วยและเสียชีวิต แม้ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาในโรงพยาบาลมากขึ้นแต่อัตราตายจากมาลาเรียยังคงสูงและในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตทั่วโลกประมาณ 627,000 คน โดยส่วนใหญ่จะเสียชีวิตจากมาลาเรียขึ้นสมอง เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน สถานการณ์ทั่วไปโรคไข้มาลาเรียช่วง ปี 2558 2559 และ 2560 พบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย 17,444 13,570 และ 8,919 ราย อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียต่อพันประชากร 0.27 0.21 และ 0.14 ตามลำดับ โดยจังหวัดยะลา พบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรีย อย่างต่อเนื่องทุกปี จึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคมาลาเรียเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธารณสุข อำเภอยะหา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรียของจังหวัดยะลา โดยเฉพาะในเขตตำบลปะแตมีการระบาดมากที่สุด ในปี ๒๕๕7 พบผู้ป่วย จำนวน 107 ราย พบมากที่หมู่ที่ 8 เหมืองลาบู และพบการระบาดอย่างต่อเนื่อง ปี 2560 พบผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียจำนวน 255 ราย (สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง,กรมควบคุมโรค) พบสูงสุดที่หมู่ที่ 9 บ้านตะโละเวสาเหตุจากยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ประกอบกับสภาพพื้นที่ของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรค นอกจากนี้พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทำให้ไม่มีการตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย เช่น การนอนไม่กางมุ้ง เป็นต้นจึงทำให้โรคไข้มาลาเรียจะมีการระบาดตลอดปี และมีการระบาดในทุกกลุ่ม
เทศบาลตำบลปะแตมีหน้าที่ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ และสนับสนุนอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการควบคุมโรคติดต่อและการแพร่ระบาดในพื้นที่ ซึ่งโรคมาลาเรียถือเป็นโรคติดต่อประจำท้องถิ่นที่มักเกิดขึ้นในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกปีจำเป็นจะต้องดำเนินกิจกรรมโครงการในการยับยั้งการระบาดของโรคมาลาเรียในพื้นที่ตำบลปะแต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลดลง ร้อยละ 50 จากปีที่ผ่านมา
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
  3. ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมควบคุมโรค ลดการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย
  2. กิจกรรม การให้ความรู้การป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียแก่แกนนำในชุมชนและการรณรงค์เชิงรุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม การให้ความรู้การป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียแก่แกนนำในชุมชนและการรณรงค์เชิงรุก

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำคู่มือ โรคมาลาเรีย เพื่อการป้องกันตนเอง
  • ประชุมชี้แจงแนวทางการให้ความรู้เชิงรุกที่บ้าน (เคาะประตูสู้มาลาเรีย) แก่อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต แกนนำชุมชน ผู้นำสตรี ผู้นำศาสนา
  • ให้ความรู้เชิงรุกในหมู่บ้าน จำนวน 9 หมู่บ้าน
  • แบ่งเขตพื้นที่รณรงค์เชิงรุก จำนวน 9 หมู่บ้าน 3200 ครัวเรือน
  • อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต แกนนำชุมชน ผู้นำสตรี ผู้นำศาสนา ออกรณรงค์ให้ความรู้เชิงรุกที่บ้าน (เคาะประตูสู้มาลาเรีย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สามารถให้ความรู้เชิงรุกที่บ้าน (เคาะประตูสู้มาลาเรีย) ผ่่านการพูดคุย เยียมบ้าน และสร้างความเข้าใจในการป้องกันตนเองพร้อมมอบคู่มือการป้องกันมาลาเรียด้วยตนเอง ทำให้ประชาชนมีความตระหนักและเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง รวมถึงการรักษาที่ถูกวิธี
  • ลดการระบาดของโรคลงมากกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับการเกิดโรคปีที่แล้ว

 

1,500 0

2. กิจกรรมควบคุมโรค ลดการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • สำรวจข้อมูลและพื้นที่การระบาด หาแหล่งโรค ที่มักเกิดขึ้นบ่อยและซ้ำซาก
  • ใช้โคมไฟดักยุง LED มัลติฟังชั่น ในกลุ่มบ้านที่เกิดขึ้นบ่อยและซ้ำซาก จำนวน 500 หลังคาเรือน
  • เก็บข้อมูลการเกิดโรคในหลังคาเรือนที่ใช้นตกรรมโคมไฟดักยุง LED มัลติฟังชั่น
  • สรุปผลการลดลงของโรคมาลาเรีย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ในกลุ่มบ้านที่เกิดขึ้นบ่อยและซ้ำซาก จำนวน 500 หลังคาเรือน มีโคมไฟดักยุง LED มัลติฟังชั่นใช้ และใช้อย่างถูกต้อง
  • ลดการแพร่ระบาดและการเกิดโรคมาลาเรีย

 

3,000 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลดลง ร้อยละ 50 จากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด : ลงลงร้อยละ 50 จากปีที่ผ่านมา
4.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย
255.00 4.00

 

3 ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : มากกว่าร้อยละ 80
4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลดลง ร้อยละ 50 จากปีที่ผ่านมา (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด (3) ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมควบคุมโรค ลดการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย  (2) กิจกรรม การให้ความรู้การป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียแก่แกนนำในชุมชนและการรณรงค์เชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมาลาเรียในพื้นที่ระบาดตำบลปะแต จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-4149-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสากีเราะฮ์บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด