โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 ”
ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ผอ.รพ.สต.เกาะแต้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560
ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 08/2560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 08/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยของหญิงตั้งครรภ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มักมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกที่อยู่ในครรภ์ ตลอดจนถึงระยะหลังคลอด ภาวะเสี่ยงของมารดาหรือเกิดในหญิงตั้งครรภ์จะมีผลกระทบเป็นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย เช่นโรคติดเชื้อ โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปัญหาการขาดสารอาหารโรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือด ภาวะครรภ์เป็นพิษ ภาวการณ์คลอดติดขัด การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์ และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖ เดือน การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น ๆโดยการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนสนับสนุนให้ครอบครัวมีความอบอุ่นจากการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน้นให้ทุกคนมีความตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความมั่นคงเพื่อสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โดยเริ่มต้นจากครอบครัวให้ลูกได้ดื่มนมแม่ เพราะน้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารกแรกเกิด ไม่มีอาหารชนิดใดที่เหมาะสมกับทารกเท่ากับน้ำนมแม่เป็นสิ่งที่ธรรมชาติกำหนดมา ให้ใช้เลี้ยงดูบุตร โดยมีคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของทารกการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในขวบปีแรกจะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ร่วมกับการพัฒนาทางด้านอารมณ์เด็กจะมีความสุข มั่นใจในสิ่งแวดล้อม นำไปสู่ความรู้สึกไว้วางใจในบุคคลซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยต่อไป
จากการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการตำบลนมแม่ ที่ผ่านมาได้เน้นกิจกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว โดยคาดหวังว่าเด็กที่เลี้ยงดูด้วยความรัก ความอบอุ่น จะหล่อหลอมให้เด็กเติบโตขึ้น แข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดีมีความสุข
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะแต้ว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำ
โครงการตำบลนมแม่ประจำปี๒๕๖๐ขึ้นเพื่อขับเคลื่อนส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่การขยายเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่ครัวเรือนในชุมชน และนำไปสู่การเป็นตำบลต้นแบบต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด
ภาวะแทรกซ้อน
๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี
น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม
๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
2.มีเครือข่ายในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้น
3.แม่และเด็กได้รับบริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐานมากขึ้น
4.ได้มีครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้น
5.ได้มีการสร้างอสม.เชี่ยวชาญนมแม่เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด
ภาวะแทรกซ้อน
๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี
น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม
๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด
ภาวะแทรกซ้อน
๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี
น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม
๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 08/2560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ผอ.รพ.สต.เกาะแต้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 ”
ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ผอ.รพ.สต.เกาะแต้ว
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 08/2560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 08/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยของหญิงตั้งครรภ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มักมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกที่อยู่ในครรภ์ ตลอดจนถึงระยะหลังคลอด ภาวะเสี่ยงของมารดาหรือเกิดในหญิงตั้งครรภ์จะมีผลกระทบเป็นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย เช่นโรคติดเชื้อ โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปัญหาการขาดสารอาหารโรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือด ภาวะครรภ์เป็นพิษ ภาวการณ์คลอดติดขัด การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์ และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖ เดือน การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น ๆโดยการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนสนับสนุนให้ครอบครัวมีความอบอุ่นจากการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน้นให้ทุกคนมีความตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความมั่นคงเพื่อสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โดยเริ่มต้นจากครอบครัวให้ลูกได้ดื่มนมแม่ เพราะน้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารกแรกเกิด ไม่มีอาหารชนิดใดที่เหมาะสมกับทารกเท่ากับน้ำนมแม่เป็นสิ่งที่ธรรมชาติกำหนดมา ให้ใช้เลี้ยงดูบุตร โดยมีคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของทารกการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในขวบปีแรกจะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ร่วมกับการพัฒนาทางด้านอารมณ์เด็กจะมีความสุข มั่นใจในสิ่งแวดล้อม นำไปสู่ความรู้สึกไว้วางใจในบุคคลซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยต่อไป
จากการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการตำบลนมแม่ ที่ผ่านมาได้เน้นกิจกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว โดยคาดหวังว่าเด็กที่เลี้ยงดูด้วยความรัก ความอบอุ่น จะหล่อหลอมให้เด็กเติบโตขึ้น แข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดีมีความสุข
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะแต้ว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำ
โครงการตำบลนมแม่ประจำปี๒๕๖๐ขึ้นเพื่อขับเคลื่อนส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่การขยายเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่ครัวเรือนในชุมชน และนำไปสู่การเป็นตำบลต้นแบบต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด ภาวะแทรกซ้อน ๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม ๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 120 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
2.มีเครือข่ายในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้น
3.แม่และเด็กได้รับบริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐานมากขึ้น
4.ได้มีครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้น
5.ได้มีการสร้างอสม.เชี่ยวชาญนมแม่เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด
ภาวะแทรกซ้อน
๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี
น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม
๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 120 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและลด
ภาวะแทรกซ้อน
๓.. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
๔ เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี
น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม
๕. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
๖. ฝึกทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่นและฝึกการสร้างบทสนทนาเรื่องเพศกับวัยรุ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 08/2560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ผอ.รพ.สต.เกาะแต้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......