กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก


“ โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณี มหาพรหม

ชื่อโครงการ โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5248-3-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5248-3-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เหาเป็นแมลงสีออกเทาๆ ขนาดยาว ๓-๔ มิลลิเมตร เกิดจากเชื้อปาราสิต ชื่อทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่าPediculushumanus. แหล่งอาศัย คือ ศีรษะมนุษย์ กินขี้ไคลบนหนังศีรษะคนเป็นอาหาร เหาตัวเมียมีอายุประมาณ ๑เดือน จะไข่ที่โคลนผมประมาณ ๕-๑๐ฟองต่อวัน ไข่จะเห็นเป็นตุ่มสีขาวติดแน่นอยู่กับผม หลังจากนั้น ๑สัปดาห์ เหาออกไข่ ไข่ที่ไม่มีเหาแล้วจะยังคงติดแน่นอยู่กับผมเมื่อผมงอกยาวขึ้นไข่ก็จะเลื่อนตามไปด้วยผู้ที่มีเหาบนศีรษะและผู้ใกล้ชิดควรได้รับการตรวจจากผู้ให้บริการสาธารณสุข (เช่น แพทย์ พยาบาลเจ้าหน้าที่อนามัย) เด็กที่เป็นเหาควรหยุดโรงเรียนจนกว่าจะได้รับการรักษา เสื้อผ้าผ้าปูที่นอน ผ้าเช็ดตัว เครื่องเรือน พรมของผู้ป่วยที่ใช้ภายใน ๔๘ชั่วโมงก่อนการรักษาต้องได้รับการซักด้วยน้ำร้อนและอบด้วยความร้อน หรือแยกเอาไว้ ๗๒ ชั่วโมงเนื่องจากเหาไม่สามารถอยู่นอกตัวคนได้นานเกิน ๔๘ชั่วโมง ดังนั้นเมื่อเด็กหรือนักเรียนคนใดเป็นเหาแล้วจะกำจัดยากมากถ้าทุกฝ่ายไม่ให้ความร่วมมือโรงเรียนบ้านยางเกาะ มีนักเรียนเพศหญิงในปีการศึกษา ๒๕๖๐ เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑๓ คนระดับปฐมวัย ๑๙ คน ระดับประถมศึกษา ๕๒ คน ครูและบุคลากร ๑๖ คน ซึ่งมีเด็กและนักเรียนที่เป็นเหาร้อยละ ๙๐ ทำการกำจัดเหากันหลายครั้ง นักเรียนก็กลับมาเป็นอีก เพราะผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญ คงจะคิดว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย กำจัดกันเองได้ แท้ที่จริงตัวเหาหาพบยากเพราะคลานหลบหลีกตามเส้นผมได้ เหาจะดูดเลือดที่หนังศีรษะทำให้มีอาการคันมาก เมื่อเกาบริเวณที่คันมากๆ จะทำให้หนังศีรษะถลอกเกิดเป็นแผลอาจเป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ ด้วยเหตุผลนี้ ทางโรงเรียนเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองและนักเรียนหญิง เรื่องวิธีการดูแลสุขภาพศีรษะทำอย่างไรอย่าให้เป็นเหาขึ้น เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปริกประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มาดำเนินการจัดอบรมเชิญปฏิบัติการเด็กและนักเรียนหญิงโรงเรียนบ้านยางเกาะและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดจากโรคเหาในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เด็กเล็กและนักเรียนหญิงของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนบ้านยางเกาะ มีสุขภาพศีรษะปลอดจากโรคเหาร้อยละ ๙๐


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 84
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกำจัดเหาในเด็กและนักเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5248-3-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุพรรณี มหาพรหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด