กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ มารดาคุณภาพ ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะ สาแม




ชื่อโครงการ โครงการ มารดาคุณภาพ

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ มารดาคุณภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ มารดาคุณภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็ว ภายใน 12 สัปดาห์  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายได้รับความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์  3. เพื่อให้มารดาที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมพบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก  2. อบรมแกนนำผู้ดูแลและหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ระยะตั้งครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นที่มีความสำคัญสำหรับการให้กำเนิดทารก ให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา แม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่ก็เป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวล ดังนั้นจึงจำเป็นที่หญิงตั้งครรภ์ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงของร่่างกายตั้งแต่ระยะตัั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด ซึ่งต้องมีการเตรียมกล้ามเนื้อให้แข็งแรง โดยการฝึกการหายใจเพื่อลดความเจ็บปวดขณะคลอด เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการคลอด รวมทั้งเตรียมรับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาภายหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง เมื่อมารดาได้รับความรู้และได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยจะเริ่มตั้งแต่มารดาวางแผนการตั้งครรภ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป ตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์และหลังคลอด เพื่อก้าวเข้าสู่บทบาทของการเป็ "มาดาคุณภาพ" จากรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของเครือข่ายบริการสุขภาพศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ในปีงบประมาณ 2560 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบมารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 73.13 ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 74.13 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้หญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกเร็วภายใน 12 สัปดาห์ เพื่อให้ได้รับบริการตามคุณภาพ ซึ่งปัญหาคือ หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า มารับบริการไม่ครบตามเกณฑ์ และหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์ร้อยละ 23.88 ซึ่งกำหนดไว้ว่าไม่เกินร้อยละ 10 และเมื่อคลอดบุตรพบว่าทารกมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 1.56 ตามเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 7
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละแมะนาและศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก และเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงด้านสุขภาพทีอาจจะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอดและหลังคลอดรวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน เคราือข่ายชมรมแม่อาสา ที่ช่วยกันดูแลสุขภาพในพื้นที่ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็ว ภายใน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายได้รับความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์
  3. เพื่อให้มารดาที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมพบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก 2. อบรมแกนนำผู้ดูแลและหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้ไม่เกิดภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ คลอดบุตรมาน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม และเลี้ยงดูบุตรด้วยน้ำนมมารดาอย่างน้อย 6 เดือน บุตรสุขภาพดีมีพัฒนาการตามวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. พบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก เป้าหมายคณะกรรมการในชมรม ร่วมกับหญิงวัยเจริญพันธ์ หยิงตั้งครรภ์ และหยิงหลังคลอด จำนวน 40 ราย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย ร้อยละ 100
  2. พบปะแกนนำผุ้ดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงในชุมชน
    เป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 40 ราย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย ร้อยละ 100
  3. มีการรณรงคืฝากครรภ์ภายใน 12 สัปดาห์
    • มอบของที่ระลึกสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
    • สื่อแผ่นพับ   กิจกรรมดังกล่าวไม่สามารถจัดได้ จึงมีกิจกรรมประชาสัมพันธ์ มารดาคุณภาพ ดดยการจัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน
  4. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่   มีการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ทุกวันศุกร์ เพื่อสอสเชิงปฏิบัติการให้แก่หญิงตั้งครรภ์มที่มาฝากครรภ์ และสามีหากยินยอมเข้าร่วมกิจกรรม     จำนวนหณิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีเป้าหมายรวม 80 ราย มีผู้เข้าร่วม จำนวน 80 รายคิดเป็นร้อยละ 100
  5. กิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาโลหิตจาง   - นวัตกรรม ลงล้อ แคร์ซีด   - แลกเปลี่่ยนเรียนรู้ในกลุ่มมารดาทีมัีภาวะโลหิตจาง   - เพื่อนช่วยเพื่อนป้องกันภาวะโลหิตจางในคณะตั้งครรภ์โดยการประดิษฐ์ภาพพลิก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็ว ภายใน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็ว ภายใน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายได้รับความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อให้มารดาที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดไม่เกิน ร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็ว ภายใน 12 สัปดาห์  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายได้รับความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์  3. เพื่อให้มารดาที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมพบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก  2. อบรมแกนนำผู้ดูแลและหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ มารดาคุณภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจ๊ะเสาะ สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด