กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือ

ชื่อโครงการ พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนพิการ คือบุคคลที่มีความผิดปกติหรือมีความบกพร่องทางร่างกาย เช่น ทางสติปัญญาหรือจิตใจอย่างไรที่เรียกว่าคนพิการเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทั้งนี้เพราะคนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน แต่ในทุกๆ สังคมมิได้มีบุคคลที่มีความสามารถเท่าเทียมกันทั้งหมดยังมีบุคคลประเภทหนึ่งซึ่งมีความผิดปกติหรือความบกพร่องทางด้านร่างกาย ทางสติปัญญาทำให้เป็นอุปสรรค ในการดำรงชีวิตในปัจจุบันผู้พิการในพื้นที่ตำบลท่าเรือ เพิ่มมากขึ้น การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจึงจำเป็นต้องสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือคนพิการได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็วโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติในพื้นที่ตำบลท่าเรือมีคนพิการจำนวนทั้งสิ้น171ราย แยกตามประเภทความพิการได้ดังนี้พิการทางการมองเห็น15ราย พิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย36ราย พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม3ราย พิการทางการเคลื่อนไหวหรือร่างกาย77ราย พิการทางสติปัญญา32ราย พิการทางการเรียนรู้7ราย พิการทาง ออทิสติก1ราย(ที่มาข้อมูล : ผู้มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพความพิการประจำปีงบประมาณ2561กองสวัสดิการสังคมองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ)จากการลงพื้นที่ของคณะกรรมการศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือ ทำให้ทราบถึงปัญหาของผู้พิการในการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทักษะการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการขาดโอกาสรับการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตนเองได้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผู้พิการต่างๆยังเข้าใจไม่ถูกต้อง อาทิเช่นสิทธิประโยชน์ของผู้พิการเกณฑ์การขึ้นทะเบียน พม. การเข้ารับการรักษาและฟื้นฟูทั่วไป สถานที่ในการรับสงเคราะห์เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องช่วยเหลือต่างๆ รวมถึงการมีกิจกรรมช่วยเหลือต่างๆทำให้ผู้พิการบางรายไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล ศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือมีอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) ในพื้นที่จำนวน12คน ซึ่งมีน้อยมากถ้าเทียบอัตราส่วนกับคนพิการที่เพิ่มขึ้นจึงจำเป็นจะต้องสร้างเครือข่ายจิตอาสาที่จะมาดูแลผู้พิการทั้งหมดมาทำหน้าที่สำรวจติดตามสภาพปัญหาคนพิการจัดทำระบบข้อมูลให้บริการในพื้นที่รับผิดชอบให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์คนพิการเรียกร้องสิทธิแทนคนพิการให้ความช่วยเหลือในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐานให้ความช่วยเหลือคนพิการให้ได้รับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตามความจำเป็นพิเศษเฉพาะบุคคลประสานคัดกรองส่งต่อให้ความช่วยเหลือคนพิการหรือผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะพิการให้ได้การดูแล รักษาพยาบาลที่เหมาะสมประสานความช่วยเหลือกับหน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบเพื่อให้ความช่วยเหลือคนพิการตามประเภทความพิการติดตามประเมินผลเกี่ยวกับการได้รับสิทธิประโยชน์และการดำรงชีวิตของคนพิการปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดตามพระราชบัญญัติหรือกฎหมายอื่นหรือตามที่คณะกรรมการหรือสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตกำหนดเพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือมีประสิทธิภาพและครอบคลุมได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดตลอดจนมีความรู้ในสิทธิของผู้พิการสามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้ซึ่งเป็นการพัฒนางานบริการด้านฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลตำบลท่าเรือเพื่อให้ ญาติ/ผู้ดูแลและอาสาสมัครดูแลผู้พิการมีความรู้มีทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการมีความรู้เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับการฝึกกายภาพบำบัดการนวดแผนโบราณผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองได้หลังรับการฟื้นฟูหรือเป็นภาระแก่ครอบครัวให้น้อยที่สุดตลอดจนผู้พิการสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลผู้พิการกันเองในกลุ่มผู้พิการเพื่อให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้พิการ ญาติ/ผู้ดูแล และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในสิทธิต่างๆ ของผู้พิการและมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ญาติ/ผู้ดูแล จิตอาสา และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัด การนวดแผนโบราณ สามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างทั่งถึงและเป็นการพัฒนางานบริการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอมรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ
  3. ตรวจเยี่ยมให้คำปรึกษา แนะนำการใช้ชีวิต การบำบัดทางกายภาพให้แก่คนพิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้พิการ ญาติ/ผู้ดูแล และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในสิทธิต่างๆ ของผู้พิการและมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้ 2.ญาติ/ผู้ดูแลจิตอาสา และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.)มีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัดการนวดแผนโบราณสามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้ 3.ผู้พิการได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างทั่งถึงและการพัฒนางานบริการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอมรมให้ความรู้

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 1.1 กิจกรรมย่อย
- บรรยาย หัวข้อ "สิทธประโยชน์ของผู้พิการ" 30 นาที 1.2 กิจกรรมย่อย - บรรยาย หัวข้อ "การดูแลสุขภาพในผู้พิการ" 30 นาที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้พิการ ญาติ/ผู้ดูแล และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในสิทธิต่างๆของผู้พิการ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพขอผู้พิการ
  • มีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัด การนวดแผนโบราณ สามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้

 

60 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมย่อย - บรรยาย ทักษะการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการตามประเภทความพิการ
- ความพิการทางการมองเห็น - ความพิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้พิการได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง

 

60 0

3. ตรวจเยี่ยมให้คำปรึกษา แนะนำการใช้ชีวิต การบำบัดทางกายภาพให้แก่คนพิการ

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจเยี่ยมให้คำปรึกษา แนะนำการใช้ชีวิต การบำบัดทางกายภาพให้แก่คนพิการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้พิการได้รับความช่วยเหลือจากการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้พิการ ญาติ/ผู้ดูแล และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในสิทธิต่างๆ ของผู้พิการและมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในสิทธิต่างๆ ของผู้พิการและมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ญาติ/ผู้ดูแล จิตอาสา และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัด การนวดแผนโบราณ สามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัด การนวดแผนโบราณ สามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างทั่งถึงและเป็นการพัฒนางานบริการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างทั่งถึงและการพัฒนางานบริการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้พิการ ญาติ/ผู้ดูแล และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.) มีความรู้ในสิทธิต่างๆ ของผู้พิการและมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ญาติ/ผู้ดูแล  จิตอาสา และอาสาสมัครดูแลผู้พิการ (อพมก.)  มีความรู้ในการฝึกกายภาพบำบัด  การนวดแผนโบราณ  สามารถดูแลผู้พิการที่ตนเองดูแลและผู้พิการอื่นได้ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผู้พิการ ให้ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างทั่งถึงและเป็นการพัฒนางานบริการของศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอมรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ (3) ตรวจเยี่ยมให้คำปรึกษา แนะนำการใช้ชีวิต การบำบัดทางกายภาพให้แก่คนพิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาอาสาดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในตำบลท่าเรือ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์บริการคนพิการตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด