กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ

ชื่อโครงการ ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 21 และ 24 ของประชากรรวมในอีกสิบและสิบสี่ปีข้างหน้าตามลำดับ และสังคมไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ตามนิยามของสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2568 กล่าวคือ ทุกๆ 5 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป 1 คน และทุกๆ 100 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 65 ปีขึ้นไปถึง 14 คน โดยจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคนในปี 2583 ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2558) จากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคม หรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตัวเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆได้ และอีกร้อยละ 21 (1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่ากลุ่มติดบ้านติดเตียง และต้องการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคมตำบลท่าเรือมีผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะพึ่งพิงหรือกลุ่มติดบ้านติดเตียงจำนวน15คนจากผู้สูงอายุทั้งหมด473 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคมร้อยละ 73.3ติดบ้าน ร้อยละ 23.10 และติดเตียงร้อยละ3.17 (ข้อมูล:งาน อผส. กองสวัสดิการสังคมองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ)
จากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตที่เอื้อให้ผู้สูงอายุเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีอัตราเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวานซึ่งถือเป็นปัญหาสาธารณสุขทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและญาติ ตามทฤษฎีกล่าวว่าเท้าของเราเหมือนจุดพักของร่างกายเพราะเป็นที่รวมของจุดสิ้นสุดของเส้นปลายประสาทต่างๆ ที่วิ่งผ่านร่างกายการนวดฝ่าเท้าคล้ายกับการฝังเข็ม เพราะเป็นการรักษาโรคอีกวิธีหนึ่งโดยการใช้นิ้วมือหรือเครื่องมืออื่นๆ กดนวดกระตุ้นฝ่าเท้า รวมทั้งหลังเท้า และข้อเท้า ตามตำแหน่งพื้นที่สะท้อนอวัยวะนั้นๆ เพื่อปรับการทำงานของอวัยวะให้กลับสู่สภาพสมดุลตามปกติเนื่องจากมีจุดสะท้อนของอวัยวะภายในร่างกายที่ฝ่าเท้าและเท้า เช่น บริเวณนิ้วหัวแม่เท้าเป็นพื้นที่สะท้อนของศีรษะ เป็นต้น การนวดกดจุดฝ่าเท้าจึงเป็นการช่วยให้ระบบการไหลเวียนของโลหิตไปยังอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายดีขึ้น ส่งผลให้มีการขับถ่ายของเสียออกจากเซลล์และปรับสภาวะสมดุลของร่างกาย ทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้น
ดังนั้นศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ (ศพอส.) จึงได้จัดทำโครงการลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือได้มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมร่วมกันด้านสุขภาพ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งการนวดฝ่าเท้าเป็นการช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต และเป็นการออกกำลังกายอย่างหนึ่งอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อช่วยการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว และข้อเสื่อม
  2. ข้อที่ 2 เพื่อลดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทสวนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรูสึกของเทา
  3. ข้อที่ 3 เพื่อใหผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ มีสวนรวมในการดูแลสรางเสริมสุขภาพดวยตัวเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ใช้บริการลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ได้รับการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย การเคลื่อนไหวและข้อเสื่อม 2.ผู้ใช้บริการลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ มีภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทสวนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรูสึกของเทาลดลง
3.ผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรังผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ มีสวนรวมในการดูแลสรางเสริมสุขภาพดวยตัวเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

วันที่ 25 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าเรือ 3.ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ 3.1 จัดหาผู้รับจ้างมาทำลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ
3.2 จัดทำป้ายไวนิลบอกคุณประโยชน์ของการใช้ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ
3.3 ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุผูปวยโรคเรื้อรังผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวมาใช้ลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ
3.4 ผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรังผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว มาใช้บริการลานกะลานวดฝ่าเท้าได้ทุกวัน 3.5 ติดตามประเมินผลการใช้ลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพทุกๆ 6 เดือน จากผู้รับบริการ
4. สรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล 5.ติดตามผลการปฏิบัติงานหลังเสร็จสิ้นโครงการโดยใช้แบบสอบถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถสร้างสุขภาพตนเองด้วยการออกกำลังกายนวดฝ่าเท้าด้วยกะลา

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อช่วยการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว และข้อเสื่อม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 70 ของผู้ใช้บริการลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ได้รับการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว และข้อเสื่อม
0.00 70.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อลดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทสวนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรูสึกของเทา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ใช้บริการลานกะนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ มีภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทสวนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรูสึกของเทาลดลง
0.00 70.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อใหผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ มีสวนรวมในการดูแลสรางเสริมสุขภาพดวยตัวเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 ผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ มีสวนรวมในการดูแลสรางเสริมสุขภาพดวยตัวเอง
0.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อช่วยการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว และข้อเสื่อม (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทสวนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรูสึกของเทา (3) ข้อที่ 3 เพื่อใหผู้สูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง  ผูปวยโรคเบาหวานและประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ มีสวนรวมในการดูแลสรางเสริมสุขภาพดวยตัวเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลานกะลานวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด