กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ จัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน
รหัสโครงการ 61-L3320-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านเกาะยาง
วันที่อนุมัติ 7 กุมภาพันธ์ 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 77,793.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านเกาะยาง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.687,99.948place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 1155 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
120.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันแนวโน้มสุขภาพเพิ่มสูงขึนจากโรคไม่ติต่อ ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเป็นปัญหาระดับประเทศ และระดับโลกซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น สถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขี้นอย่างต่อเนื่อง ในประเทศไทยอัตราการตายจากโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 8.8 ในจังหวัดพัทลุงอัตรเบาหวานร้อยละ 3.95 ต่ำกว่าในระดับประเทศ อำเภอควนขนุนมีอัตราการ ร้อยละ 4.49 และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี การที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช่จ่ายในการดูแลรักษา ดั้งนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่สำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลความเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและความคุมโรคเบาหวานและการป้องภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้วการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่่อคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากร ,เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง,เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ,เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมิณสุขภาพเท้าตามแนวทางปฎิบัติ

1.ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงไมาน้อยกว่าร้อยละ 95 2.กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ60
3.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่าDTX>=100 mg/dl ได้รับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 4.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต ที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยงCVD risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 5.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมิณสุขภาพเท้าตามแนวทางการปฎิบัติร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 2.จัดทำแผนงานดครงการ/ขออนุมัติดโครงการ/จัดซื้อวัสดุการแพทย์ 3.ชี้แจงให้ อสม.ทราบขั้นตอนการคัดกรอง และนัดกลุ่มกลุ่มเป้าหมาย 4.ออกดำเนินงานคัดกรองตามแผนที่กำหนดไว้ 5.รวบรวมข้อมูล ลงบันทึกผลการปฎิบัติงานโปรแกรม JHCIS 6.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส. ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองคัดกรอง 7.ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่าDTX>=100mg//dl) มารับการเจาะFBS หลังปรับพฤติกรรม 8.ขึ้นทะเบียนผุ้ป่วยรายใหม่ จ่ายค่ารักษา ตามCPG หลังติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วยังมีค่าความดันตัวบนมากกว่า 140/และหรือตัวล่างมากกว่่า 90 มม.ปรอทและค่าน้ำตาลจากหลอดเลือดดำ(FBS)มากกว่า126 มก.เปอร์เซ็นต์ 9.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผุ้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35-74 ปี ที่มีความเสี่ยงCVD rist
10.จัดกิจกรรมให้บริการตรวจประเมิณสุขภาพเท้าตามแนวทางปฎิบัติ 11.รวบรวมข้อมูล/บันทึกผลงาน 12.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ 95 2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60 3.อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 4.กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาทหลัก 3อ.2ส. 5.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่าDTX>=100mg/dl)ได้รับการเจาะFBSไมน้อยกว่าร้อยละ ุ60 ุ6.ผู้เข้าร่วมโครงการมีระความเสี่ยงCVD risk ลดลง 7.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้รับการส่งต่อในรายที่พบภาวะผิดปกติทางเท้า

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2561 15:46 น.