กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันขนาดเล็กที่มีความสำคัญ ปัจจุบันมีความเจริญทางด้านวัตถุ สังคม เศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวที่เคยอบอุ่น แนบแน่น และมีความผูกพันเริ่มเลือนหายไป วัยทำงานดิ้นรนหาเลี้ยงชีพ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว ทำให้ไม่มีเวลาเอาใจใส่ดูแลลูกหลานและพ่อแม่ที่แก่ชรา คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง มีการทอดทิ้งผู้สูงอายุไว้โดดเดี่ยว คนรุ่นหลังไม่ค่อยเชื่อฟัง คนรุ่นก่อน เช่นลูกไม่ยอมเชื่อฟังพ่อแม่ หลานไม่ยอมเชื่อฟังปู่ย่าตายาย ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุเกิดความรู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจที่ลูกหลานไม่เชื่อฟัง ทำให้เกิดความเครียดและแยกตัวอยู่คนเดียว ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุตามมา
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้าขึ้น เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว ลดปัญหาการแตกแยกในครอบครัว ผู้สูงอายุไม่ถูกปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง มีความอบอุ่นในครอบครัว ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้า ครอบครัวและสังคมจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้า
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองค้นหาโรคซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
  3. เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
  2. 2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง
  3. 3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้า ลดปัญหาการแตกแยกในครอบครัว ผู้สูงอายุไม่ถูกปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง มีความอบอุ่นในครอบครัว ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้า ครอบครัวและสังคมจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน           2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง           3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว           4. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าจากการคัดกรองและพบจิตแพทย์เพื่อทำการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้า ลดปัญหาการแตกแยกในครอบครัว ผู้สูงอายุไม่ถูกปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง มีความอบอุ่นในครอบครัว ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้า ครอบครัวและสังคมจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขต่อไป

 

0 0

2. 2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน           2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง           3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว           4. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าจากการคัดกรองและพบจิตแพทย์เพื่อทำการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้า ลดปัญหาการแตกแยกในครอบครัว ผู้สูงอายุไม่ถูกปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง มีความอบอุ่นในครอบครัว ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้า ครอบครัวและสังคมจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขต่อไป

 

75 0

3. 3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน           2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง           3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว           4. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าจากการคัดกรองและพบจิตแพทย์เพื่อทำการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้า ลดปัญหาการแตกแยกในครอบครัว ผู้สูงอายุไม่ถูกปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง มีความอบอุ่นในครอบครัว ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้า ครอบครัวและสังคมจะได้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขต่อไป

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าและจิตวิทยาครอบครัว ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองค้นหาโรคซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 50ได้รับการคัดกรองค้นหาโรคซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
0.00

 

3 เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการติดตามโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้า (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองค้นหาโรคซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (3) เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คัดกรองค้นหา โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (2) 2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องจิตวิทยาครอบครัวและโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุแก่ครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง (3) 3. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์สร้างความผูกพันในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ป้องกันโรคซึมเศร้า ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด