กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการ อผส. น้อย ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายนิพนธ์ บัวจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการ อผส. น้อย ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2561 ถึง 14 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อผส. น้อย ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อผส. น้อย ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุและบุตรหลาน  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุขภาพจิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. นำเสนอข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนา 2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทางด้านจิตใจ 3. ให้ความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น เช็คตัวลดไข้ การทำแผล 4. ให้ความรู้การนวดคลายเครียด 5. สอนและสาธิตการออกกำลังกายด้วยยางยืด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปของตำบลตะโละแมะนา ตั้งแต่ปี 2556-25๖๐ พบว่าข้อมูลจำนวนประชากรผู้สูงอายุของตำบลตะโละแมะนา ในปี พ.ศ. 2556 มีประชากรผู้สูงอายุ 229 คน คิดเป็นร้อยละ 6.92 ปี พ.ศ. 2557 มีประชากรผู้สูงอายุ 234 คน คิดเป็นร้อยละ 7.07 ปี พ.ศ. 255๘ มีประชากรผู้สูงอายุ 2๕3 คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๒๓ ปี พ.ศ. 255๙ มีประชากรผู้สูงอายุ ๒๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๑๗ ปี และในปี พ.ศ. 25๖๐ มีประชากรผู้สูงอายุ ๒๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๔๙ จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุของตำบลตะโละแมะนา มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ด้วยชมรมผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนา เป็นองค์กรที่ดำเนินงานสนับสนุน ส่งเสริม กิจกรรมของผู้สูงอายุมาตลอด กิจกรรมที่ดำเนินการ ออกเยี่ยมเยียน มอบสิ่งของ ดูแลสุขภาพ และมักพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ถูกละเลยจากญาติ ลูกหลาน เพื่อนบ้าน ขาดการดูแลเอาใจใส่ ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกโดดเดี่ยว ถูกถอดทิ้ง อีกทั้งสภาพความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อมไม่อำนวยความสะดวกเท่าที่ควร เป็นเหตุให้เกิดการเจ็บป่วย สุขภาพไม่ดีเท่าที่ควร หากผู้ดูแลที่เป็นจิตอาสามีความรู้ ความเข้าใจ ก็จะสามารถให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้สูงอายุได้มากขึ้น ตำบลตะโละแมะนา มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ และมีการดำเนินกิจกรรมในชมรมมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อนเยี่ยมเพื่อน ได้ทำกิจกรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลที่เป็น ผู้สูงอายุที่ติดสังคมและเด็กในวัยเรียน ซึ่งเราเรียกกลุ่มนี้ว่า อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) และอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ (อผส.น้อย) ซึ่งมีการจัดอบรมมาอย่างต่อเนื่องทุกปี ปีละ ๓๐-๓๕ คน ขึ้นอยู่กับจำนวนผู้สูงอายุที่ต้องดูแลในแต่ละปี การมีทีม อผส.และ อผส.น้อย นี้ทำให้การดำเนินงานในชมรมผู้สูงอายุเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนี้ได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆให้กับผู้สูงอายุและติดตามเยี่ยมบ้านอย่างสม่ำเสมอ แต่ เนื่องจาก อผส.น้อยเป็นกลุ่มเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา เมื่อจบการศึกษาระดับประถมแล้วบางรายไปศึกษาต่อต่างพื้นที่ ทำให้ อผส.น้อยจะลดลงทุกปี จึงจำเป็นต้องจัดอบรมเพิ่มเติม เพื่อให้มีการดำเนินกิจกรรมของ อผส.น้อย อย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุและบุตรหลาน
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. นำเสนอข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนา 2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทางด้านจิตใจ 3. ให้ความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น เช็คตัวลดไข้ การทำแผล 4. ให้ความรู้การนวดคลายเครียด 5. สอนและสาธิตการออกกำลังกายด้วยยางยืด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกันได้ 6.2 ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า 6.3 สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ 6.4 ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ติต่อประสานงานโรงเรียนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการในปีนี้ พบว่าโรงเรียนบ้านตะโละแมะนา มีความประสงค์ให้จัดกิจกรรม อผส.น้อยอย่างต่อเนื่องจึงได้ดำเนินโครงการนี้ในโรงเรียน โดยมีเด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 - 6 จำนวน 42 คน เข้าร่วมรับการอบรมกิจกรรมนี้ ในการจัดอบรมให้แก่เด็กนักเรียนที่มีจิตอาสาเข้าร่วมเป็น อผส.น้อยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี และเด้กทุกกคนชอบกิจกรรมนี้
ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการกดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน 93.06 2. ผู้สูงอายุติดสังคมได้เข้าร่วมกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ  เป้าหมาย ร้อยละ 80  ผลงาน 73.46 3. ผู้สูงอายกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้าน  เป้าหมาย ร้อยละ 100 ผลงาน 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุและบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุติดสังคมได้เข้าร่วมกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุุขภาพของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุและบุตรหลาน  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุขภาพจิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. นำเสนอข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนา 2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทางด้านจิตใจ 3. ให้ความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น เช็คตัวลดไข้ การทำแผล 4. ให้ความรู้การนวดคลายเครียด 5. สอนและสาธิตการออกกำลังกายด้วยยางยืด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อผส. น้อย ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิพนธ์ บัวจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด