แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5-13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 5-13 ปี |
100.00 | |||||
2 | เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะ โภชนาการในเด็ก 2. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินไข่ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 3. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินผัก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 | |||||
3 | เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์,เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 2. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 3. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 4. เด็กที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100 |
100.00 | |||||
4 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น |
80.00 | |||||
5 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น |
80.00 | |||||
6 | เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงปัญหาโรคฟันผุลดลง และลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง( ดูจากสถิติการเจ็บป่วยในรอบ 6 เดือน ) 2. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีการออกกำลังหลังเลิกเรียนอย่างน้อย 30 นาที 3. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีสมรรถภาพร่างกายเหมาะสมกับวัย 4. เด็กนักเรียนร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง 5. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 |
80.00 |